1 / 69

เพื่อ การพัฒนาเด็กและเยาวชน ในพื้นที่สร้างสรรค์

การประสานเครือข่าย ใน การจัดกิจกรรม. เพื่อ การพัฒนาเด็กและเยาวชน ในพื้นที่สร้างสรรค์. เกื้อ แก้วเกต ศูนย์พัฒนาเยาวชน YPDC โทร . 02 719 9191. สาระการบรรยาย. การพัฒนาเด็กและเยาวชน. กิจกรรม เพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่สร้างสรรค์. เครือข่าย และการประสานเครือข่าย. การพัฒนา เด็กและเยาวชน.

shauna
Download Presentation

เพื่อ การพัฒนาเด็กและเยาวชน ในพื้นที่สร้างสรรค์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประสานเครือข่ายในการจัดกิจกรรมการประสานเครือข่ายในการจัดกิจกรรม เพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่สร้างสรรค์ เกื้อ แก้วเกต ศูนย์พัฒนาเยาวชน YPDCโทร. 02 719 9191

  2. สาระการบรรยาย การพัฒนาเด็กและเยาวชน กิจกรรมเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่สร้างสรรค์ เครือข่ายและการประสานเครือข่าย

  3. การพัฒนาเด็กและเยาวชนการพัฒนาเด็กและเยาวชน

  4. เด็กไทยที่พึงประสงค์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ ๑๐นโยบายเยาวชนแห่งชาติ และแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนระยะยาว(พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๕๔)

  5. มีความผูกพันในครอบครัว ภาคภูมิใจในความเป็นไทย มีทักษะในอาชีพ และการดำรงชีวิตที่รู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น

  6. มีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน มีศักดิ์ศรีและความภูมิใจในการทำงานสุจริต

  7. มีสุขภาพและพลานามัยแข็งแรงและรู้จักการป้องกันตนเองจากโรคและสิ่งเสพติดมีสุขภาพและพลานามัยแข็งแรงและรู้จักการป้องกันตนเองจากโรคและสิ่งเสพติด

  8. รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลรอบด้าน และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

  9. มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ จริยธรรม คุณธรรม และมีพฤติกรรมรับผิดชอบตามวัย

  10. กิจกรรมพัฒนาคนรอบด้านกิจกรรมพัฒนาคนรอบด้าน แข็งแรงสมบูรณ์ กิจกรรม P.Q ทีม P.Q M.Q สงบ สว่างสะอาด S.Q M.Q SUPER STAR กิจกรรม สุขแจ่มใส E.Q I.Q อริยสัจ4KAP กิจกรรม

  11. ช่วงชีวิตลูกหลานไทย รอด? 19 24 16 18 ไม่รอด? 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 % เกิด

  12. วัยทองแห่งการสร้างรากฐานของชีวิต-บุคลิกภาพที่จะใช้ไปตลอดชีวิตวัยทองแห่งการสร้างรากฐานของชีวิต-บุคลิกภาพที่จะใช้ไปตลอดชีวิต รอด? 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 %

  13. วัยทองแห่งการเรียนรู้ สร้างกฎระเบียบวินัย รู้คุณค่าของเงิน รอด? 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 %

  14. วัยทองแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เป็นวัยเริ่มต้น การสร้างอัตลักษณ์ส่วนตน รอด? 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 %

  15. วัยทองแห่งการสร้าง อัตลักษณ์ทางเพศและสังคม มีเป้าหมายในชีวิตชัดเจน รอด? 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 %

  16. และการพัฒนารอบด้าน(ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม) 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 %

  17. และเป็นวัยทองของ.. การปลูกฝังลักษณะเด็กไทยที่พึงประสงค์ 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 %

  18. แต่.... ปัญหาระดับประเทศ ความรุน แรงคืบรุก สังคมวิปริต อบายมุข 108 สื่อชั่วแทรกรอบด้าน ลัทธิบริโภคนิยม สิ่งเสพติดโรคร้ายแรง 19 24 16 18 13 15 7 12 สร้างเป้าหมายในชีวิต 0 6 สมองโต 80 % ก่อนเกิด สร้างอัตลักษณ์ทางเพศอัตลักษณ์ทางสังคม สร้างวินัย ความดี/ชั่วรู้คุณค่าเงิน สร้างบุคลิกพื้นฐาน วัยทองแห่งการพัฒนา กำลังถูกตามล่าอย่างน่าระทึกใจ!!

  19. และ..... อีก2-3ทศวรรษต่อไปนี้

  20. ปัญหาระดับโลก น้ำมันจะหมดโลกแน่นอน!โลกจะร้อนขึ้น 5 องศา!น้ำจะหายากและต้องแย่งชิงกัน!ทรัพยากรถูกทำลายภัยพิบัติจะรุนแรง ฯลฯ

  21. การจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่สร้างสรรค์การจัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่สร้างสรรค์

  22. สร้างเสริม? ความสมานฉันท์ การยอมรับในความแตกต่าง วิถีชีวิตแบบประชาธิปไตย ทักษะการมีส่วนร่วม 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 % สร้างเสริมและคุ้มกัน

  23. ช่วงชีวิตลูกหลานไทยสมัยก่อนช่วงชีวิตลูกหลานไทยสมัยก่อน ประชุมหมู่บ้าน ลงแขกเกี่ยวข้าว ประเพณีในวัด งานบุญ เกมพื้นเมือง 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 % ลงแรง จุลกฐิน การละเล่นพื้นเมือง

  24. ชีวิตลูกหลานไทยช่วง 14 ตุลา.. กิจกรรมกลุ่ม ชมรม สโมสร ค่ายอาสาฯ 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 % สภา องค์การ ศูนย์กลาง

  25. คุ้มกัน ? สิทธิการอยู่รอด ได้รับการคุ้มครอง การพัฒนาต่อเนื่อง และการมีส่วนร่วม 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 % สร้างเสริมและคุ้มกัน

  26. ทำอย่างไรเล่า? กิจกรรมสร้างสรรค์

  27. พัฒนาเด็กและเยาวชนต้องมีกิจกรรม และ.. กิจกรรม ต้องเหมาะสมหลากหลาย เพียงพอ และต่อเนื่อง

  28. กิจกรรม..กิจกรรม..กิจกรรมกิจกรรม..กิจกรรม..กิจกรรม เรียนรู้โดยอายตนะ 6 กิจกรรมพิเศษSPECIAL EVENTS อาสาสมัคร VOLUNTEER วรรณกรรม WRITING READING ทีวี วีดีโอ TV VDO ค่ายพักแรม CAMPING การแสดง นาฏศิลปDANCE ประเพณี วัฒนธรรมCULTURE ศิลปะART&CRAFT กีฬา MUSIC ทัศนศึกษา TOUR&TRIP ดนตรี MUSIC ร้องเพลงSINGING เกม GAMES ชมรม CLUB นิทาน TALES งานอดิเรก HOBBIES

  29. และ.. อบายมุข 108 สิ่งเสพติดโรคร้ายแรง สังคมวิปริต สื่อชั่วแทรกรอบด้าน ความรุน แรงคืบรุก ลัทธิ บริโภคนิยม กิจกรรม 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 % สร้างภูมิคุ้มกัน

  30. ทำคนเดียวไม่มีทางสำเร็จทำคนเดียวไม่มีทางสำเร็จ เครือข่ายและการประสานเครือข่าย คือทางออก

  31. ภาพรวมเครือข่าย ครู พระ โรงเรียน กลุ่มเยาวชน องค์กรรัฐ เอกชน อบต. ผู้นำเยาวชน องค์กรชุมชน พ่อ แม่ วัด ระบบงานพื้นฐาน ระบบกลไกสนับสนุนทางด้าน กิจกรรม/บริหารระดับชุมชน บ้าน (ครอบครัว) อบจ. (อบต/เทศบาล) องค์กรรัฐ กระทรวง ทบวง กรม เครือข่าย ประชาชน เอกชน อนุสัญญา และข้อตกลงระหว่างประเทศ เป้าหมายทั้ง ระยะสั้น/ยาว ระบบกลไกสนับสนุนทางด้านกิจกรรมและบริหารระดับจังหวัดหรือเขต กฎหมาย วาระแห่งชาติ (จังหวัด) พรบ. พัฒนาเยาวชนแห่งชาติ แผนพัฒนาฯ นโยบาย ระบบกลไกสนับสนุนทาง ด้านกิจกรรม/บริหารระดับชาติ (รัฐบาล)

  32. 3C การทำงานด้านเด็ก ตัวเด็กเอง CHILD นโยบาย แผนชาติ กฎหมาย ผู้นำการเปลี่ยนแปลง อนุสัญญา กลุ่มเยาวชน แผนชุมชน CHANGE AGENTS ผู้นำเยาวชน พระ องค์กรชุมชน ครู วัด องค์กรรัฐ NGO พ่อ แม่ โรงเรียน CONTEXT บ้าน ครอบครัว สภาพแวดล้อม อบต. อปท YPDC Leadership Training Center

  33. CONTEXT CHILD 19 24 16 18 13 15 0 6 7 12 สมองโต 80 % CHANGE AGENTS

  34. เข้าใจกลุ่ม... ...ก็จะเข้าใจเครือข่าย

  35. ประสบการณ์กลุ่ม ไม่ใช่เรื่องใหม่ในสังคมไทย

  36. แต่เป็นความตั้งใจของปู่ย่าตายายที่ต้องการให้ลูกหลานมีทักษะการใช้ชีวิตกลุ่มตั้งแต่เด็ก....แต่เป็นความตั้งใจของปู่ย่าตายายที่ต้องการให้ลูกหลานมีทักษะการใช้ชีวิตกลุ่มตั้งแต่เด็ก....

  37. สร้างและเคารพกฎ มีส่วนร่วม ...สนุก มีความสุข และมีเพื่อน....

  38. “การเล่นเกมนั้น ทำให้กำลังบริบูรณ์และกล้าหาญ...เพื่อจะฝึกให้เด็กรู้จักการรักเหล่ารักคณะ ให้รู้จักช่วยเพื่อน...ให้นึกถึงส่วนใหญ่ ไม่ใช่นึกแต่ตัวคนเดียว...ต้องเล่นเกมให้ถูกข้อบังคับจริงๆ และจะโกงไม่ได้เลย...คนไหนที่มีน้ำใจซื่อสัตย์สุจริต ทำอะไรตรงไปตรงมา เขาเรียกว่าเป็นผู้รู้จักเล่นเกม ... แปลว่าเล่นเกมถูกต้อง รู้จักรัก และนึกถึงการช่วยเหลือเพื่อนของตน ไม่ใช่เอาเปรียบ เป็นของสำคัญมากในการอบรมนิสสัยอย่างดี” พระราชดำรัส ในหลวงรัชกาลที่ ๗ พ.ศ. ๒๔๗๑

  39. เข้าใจเครือข่าย

  40. “เครือข่าย” เกิดและพัฒนา วุฒิภาวะสูง Mature เรา แบ่งปันพึ่งพา INTERDEPENDENCE ฉัน ตัวใครตัวมัน INDEPENDENCE พึ่งพิงมากไป วุฒิภาวะต่ำ Immature DEPENDENCE เธอ Maturity Theory Group /Network Development YPDC/Kua

  41. พึ่งพิงกันมากไป DEPENDENT YOU วุฒิภาวะต่ำ IMmature

  42. การรวมตัวมีเงื่อนไข จับกลุ่มคนสนิท เกรงใจยังไม่กล้าเป็นตัวเอง กลัวคนอื่นไม่ชอบ ขึ้นอยู่กับคนอื่นมักอ้างผู้อื่นก่อนทำอะไร หรือเมื่อเกิดความผิดพลาด ไม่สนิทสนมไม่ค่อยไว้วางใจ การสื่อสารไม่ไหลลื่น มีความลับระหว่างกันมาก ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น การตัดสินใจร่วมกันไม่ค่อยเกิด เปิดโอกาสให้มีเผด็จการ มีข้อขัดแย้งสูง มีแพ้ชนะบ่อย การประสานงานระหว่างกันมีข้อแม้ ข้ออ้างมาก เธอ วุฒิภาวะต่ำ พึ่งพิงกันมากไป DEPENDENCE

  43. ตัวใครตัวมัน INDEPENDENT I

  44. การรวมตัวแล้วแต่ฉัน สลายกลุ่มคนสนิท เป็นตัวเอง ไม่เกรงใจ มีเพื่อนมากขึ้น ขึ้นอยู่กับตนเองไม่ค่อยไว้วางใจใคร เอาตัวเองเป็นหลัก การสื่อสารไหลลื่น ไม่ มีความลับระหว่างกันมาก กล้าแสดงความคิดเห็น การตัดสินใจร่วมกันไม่ค่อยเกิด แล้วแต่ฉันถ้าไม่เผด็จการก็ไม่รู้ร้อนรู้หนาว ยังมีข้อขัดแย้ง มีแพ้ชนะ การประสานงานระหว่างกันยาก ต่างก็เก่งเอาตัวเองเป็นหลัก ฉัน ตัวใครตัวมัน INDEPENDENCE

  45. แบ่งปันพึ่งพา วุฒิภาวะสูงMATURE INTERDEPENDENT SUPER TEAM WE SUPER STAR

  46. เรา รวมตัวเร็ว อาสา มาก่อนเห็นความสำคัญ และเป็นหน้าที่ เป็นอิสระ แต่ผูกพันกับทุกคน ทำตัวเองไว้ใจได้ และไว้ใจผู้อื่น การสื่อสารไหลลื่น โปร่งใสสองทาง ไม่มีความลับระหว่างกัน เคลียร์เมื่อมีปัญหา ตัดสินใจร่วมกันแบบ ชนะ/ชนะ แสดงความคิดเห็นเต็มที่ แต่เมื่อตัดสินใจแล้วยอมรับ การประสานงานระหว่างกันมีมาก ตลอดเวลา วุฒิภาวะสูง SUPER GROUP SUPER STAR แบ่งปันพึ่งพา INTERDEPENDENCE

  47. ระดับความเข้มแข็งของเครือข่ายระดับความเข้มแข็งของเครือข่าย เรา คิดถึงเขาถึงเราสำหรับทุกคนในเครือข่าย ไม่เลือกปฏิบัติ รับผิดชอบต่อกันและกัน มีการให้อภัยมีความสุขในการทำงานร่วมกัน ฉัน I ทุกคนทุกองค์กรเป็นอิสระมากเกินไปต่างคนต่างอยู่ ต่างคนต่างทำ ไม่ค่อยเกรงใจกัน ถือวิสาสะ ความคิดของตนเองถูกสุด เธอ U U มีข้อแม้ มีข้อจำกัดขึ้นอยู่กับคนอื่นในเครือข่ายข้ออ้างเยอะเลือกปฏิบัติโทษคนอื่นองค์กรอื่น รับแต่ชอบไม่ค่อยยอมรับผิด Maturity Theory

  48. ทำอย่างไรให้เครือข่ายเข้มแข็งทำอย่างไรให้เครือข่ายเข้มแข็ง How ?

  49. วิสาสา ปรมาญาติ กิจกรรม กิจกรรม

  50. ยิ่งมีกิจกรรม ยิ่งพบกัน ยิ่งพบกันยิ่งเป็นญาติ

More Related