1 / 24

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน. กรอบแนวคิดการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน. ความหมายของการจัดการอย่างยั่งยืน. การใช้ทรัพยากรในปริมาณที่ระบบนิเวศสามารถ ฟื้นตัวได้ / ไม่ใช้เกินความสามารถในการผลิตทดแทน.

Download Presentation

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

  2. กรอบแนวคิดการจัดการทรัพยากรกรอบแนวคิดการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน ความหมายของการจัดการอย่างยั่งยืน การใช้ทรัพยากรในปริมาณที่ระบบนิเวศสามารถ ฟื้นตัวได้ / ไม่ใช้เกินความสามารถในการผลิตทดแทน การปล่อยมลพิษต้องอยู่ในระดับที่ระบบนิเวศสามารถ ดูดซับและทำลายได้ 1

  3. กรอบแนวคิดการจัดการอย่างยั่งยืน ปรับปรุงกระบวนทัศนสำหรับผู้เกี่ยวข้อง ผู้บริหารประเทศ ต้องตระหนักว่า ทรัพยากรธรรมชาติเป็นทุน การอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากร =เพิ่มทุนทางธรรมชาติ ประชาชน ต้องมีส่วนร่วมในการจัดการ การใช้อย่างประหยัด และรับภาระต้นทุนค่าใช้จ่ายการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม

  4. ยึดหลักบริหารการจัดการเชิงนิเวศยึดหลักบริหารการจัดการเชิงนิเวศ การจัดการต้องหลากหลายตามวัตถุประสงค์ ทรัพยากรธรรมชาติ/ชีวภาพ : ใช้อย่างยั่งยืน คุ้มค่า หมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ สิ่งแวดล้อมกายภาพ/มลพิษ : เน้นการป้องกัน มากกว่าแก้ไข สิ่งแวดล้อมทางมนุษย์และสังคม (ศิลปะ วัฒธรรม ประเพณี) : อนุรักษ์ให้คงอยู่ เปลี่ยนรูปแบบ “ การจัดการตามเขตปกครอง” เป็น “การจัดการภายใต้ระบบนิเวศ” เช่น ระบบลุ่มน้ำ เพื่อให้เกิดการบูรณาการ

  5. สภาวะแวดล้อมและสถานการณ์ปัจจุบันสภาวะแวดล้อมและสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากร และปัญหามลพิษ ปัญหาความขัดแย้งในการใช้ทรัพยากร ปัญหาความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงและ ใช้ทรัพยากร ปัญหาการถูกคุกคามและแย่งชิงทรัพยากร จากภายนอกประเทศ 2 • ปัญหาด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมแบ่งเป็น 4 กลุ่ม

  6. ตัวอย่าง สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ 60 พื้นที่ป่า ลดลงจาก 171 ล้านไร่ (ร้อยละ 53.3) ในปี 2504 เหลือ 81 ล้านไร่ (ร้อยละ 25) ในปี 2541 50 40 อัตราการสูญเสียเฉลี่ย 367,244 ไร่/ปี ร้อยละของพื้นที่ป่าทั้งประเทศ 30 20 10 0 2504 2516 2519 2521 2525 2528 2531 2532 2534 2536 2538 2541 สภาพความเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ระหว่าง พ.ศ. 2504-2541 (1.) ทรัพยากรป่าไม้

  7. (2) ทรัพยากรน้ำ ความสามารถกักเก็บน้ำเพียงร้อยละ 27 ของปริมาณ น้ำท่ารายปี ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยต่อประชากรลดลงจาก 3,877 ลบ.ม. / คน ในปี 2538 เหลือ 3,488 ลบ.ม. / คน ในปี 2544 และ 3,191 ลบ.ม. / คน ในปี 2553 ความต้องการใช้น้ำเพิ่มขึ้น จาก 89,000 ล้าน ลบ.ม. ในปี 2539 เป็น 109,000 ล้าน ลบ.ม. ในปี 2549 การสูบน้ำบาดาลเกินศักยภาพก่อให้เกิดปัญหา แผ่นดินทรุด เฉลี่ย 1-3 ซม./ปี

  8. ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นปี 2544 - ปริมาณขยะในเขตเมืองสูงถึง 7.7 ล้านตัน แต่กำจัดได้ร้อยละ 60 45% (6.4 ล้านตัน) - ใน 10 ปี ข้างหน้าปริมาณขยะจะเพิ่มขึ้น ร้อยละ 2 ต่อปี 31% 24% กทม. (3.4 ล้านตัน) - ในขณะที่องค์ประกอบของขยะยากต่อการกำจัด มากขึ้นและมีข้อจำกัดด้านสถานที่กำจัด และการ ต่อต้านของประชาชน (4.3 ล้านตัน) เทศบาล นอกเขตเทศบาล ขยะมูลฝอย

  9. สัดส่วนปริมาณมูลฝอยที่เก็บขนและกำจัดได้ในเขตพื้นที่ต่าง ๆ 99% ล้านตัน / ปี 70-85% 99% 20-30% 30-40% 5-10%

  10. ล้านตัน 13.5 13.6 13.9 14.1 13.8 6.1 6.1 6.2 6.1 6.0 2.2 1.6 2.0 1.5 1.8 ปริมาณการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยชุมชนระหว่างปี 2540 - 2544

  11. 2.4 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ไม่มีประสิทธิภาพ เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ /เน้นการจัดการด้านอุปทานซึ่งไม่ทันต่อปัญหาที่เกิดขึ้น เน้นแก้ปัญหาเฉพาะหน้ามากกว่าการป้องกันปัญหาระยะยาว รัฐเป็นผู้บริหารจัดการหลักขาดการมีส่วนร่วมจาก ชุมชน/ ประชาชน

  12. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทน้อยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีบทบาทน้อย กฎหมายล้าสมัย ไม่เข้มงวด บทลงโทษเบา ขาดกฎบังคับเฉพาะด้าน มีการแทรกแซง จากอิทธิพลทางการเมืองและอิทธิพลท้องถิ่น กลไกสนับสนุนมีข้อจำกัด เช่น เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ , EIA

  13. 2.5 สภาวะแวดล้อมจากภายนอกที่มีผลต่อการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ • กติกาสิ่งแวดล้อมโดยตรง - พันธกรณีและข้อตกลงระหว่างประเทศ เช่น UNCCC, Kyoto Protocol, Biodiversity Convention ฯลฯ • กติกาสิ่งแวดล้อมทางอ้อม - ข้ออ้างในการแทรกแซงทางการค้า เช่น WTO , WEEE ฯลฯ

  14. ภาคธุรกิจ • - มีการใช้ Environmentally Sound Technology ควบคู่กับ • ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มคุณภาพสินค้า • - ต้องวางแผนจัดการของเสียที่เกิดจากการผลิตสินค้า ภาคประชาชน • - เกิดการตื่นตัวด้านสิ่งแวดล้อม กดดันให้รัฐเปิดโอกาส • ให้มีบทบาทในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นมากขึ้น ภาครัฐ • - มีการกำหนดท่าทีและมาตรการเชิงรุกมากขึ้น • ผลกระทบด้านบวก

  15. ผลกระทบด้านลบ - เพิ่มภาระการลงทุนและการผลิตในภาคธุรกิจ - ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศลดลง - ประชาชนต้องบริโภคสินค้าราคาสูงขึ้น

  16. ประเด็นท้าทาย 3 การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ที่เป็นอุปสรรคต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การสร้างองค์ความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงวิธีการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของประเทศ การสร้างจริยธรรมด้านสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนจากการจัดการด้านอุปทานสู่การจัดการด้านอุปสงค์

  17. ยุทธศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและยุทธศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 4 กำหนดนโยบายและวางแผนการใช้ทรัพยากรที่ชัดเจนในแต่ละเรื่อง สร้างจิตสำนึก จริยธรรม และจรรยาบรรณด้านสิ่งแวดล้อม ให้นักการเมือง ผู้ประกอบการ และประชาชน จัดสรรงบประมาณเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นเงื่อนไขของ การลงทุน จัดสรรผลประโยชน์อย่างเป็นธรรมให้ประชาชนจากการดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการแบบบูรณาการโดยยึดพื้นที่ 4.1 กลวิธี / แนวทางหลัก

  18. พลังทางสังคมและการบริหารจัดการที่ดีพลังทางสังคมและการบริหารจัดการที่ดี องค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและ/การรวมตัวเป็นเครือข่าย กฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อมที่สอดคล้องกับสถานการณ์ องค์ความรู้ด้านบริหารจัดการและการเชื่อมโยงองค์ความรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นกับเทคโนโลยีสู่การประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม 4.2 กลไกการขับเคลื่อน

  19. ยุทธศาสตร์การจัดการด้านอุปสงค์ยุทธศาสตร์การจัดการด้านอุปสงค์ ยุทธศาสตร์อนุรักษ์และคุ้มครองความหลากหลาย ทางชีวภาพ 4.3 ข้อเสนอแนะยุทธศาสตร์ - เพื่อลดปริมาณการใช้ทรัพยากรและการก่อมลพิษ โดยใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ การผลิตที่สะอาด การปรับระบบการผลิตทางเกษตรฯลฯ - เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศและใช้เป็นจุดแข็ง เพื่อสร้างความได้เปรียบในเชิงการแข่งขันให้กับประเทศ โดยเร่งกำหนดเขตอนุรักษ์ คุ้มครองสำหรับระบบนิเวศ ที่มีความสำคัญ อาทิ พื้นที่ชุ่มน้ำ ฯลฯ

  20. ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูและการใช้ประโยชน์ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูและการใช้ประโยชน์ อย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแวดล้อมชุมชน - เพื่อบูรณะทรัพยากรที่เสื่อมโทรมให้คืนความสมบูรณ์ และให้มีการใช้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้ง แบ่งปัน ผลประโยชน์ที่ได้อย่างยุติธรรม - เพื่ออนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทุนทางสังคม เช่น ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปํญญาท้องถิ่น

  21. ยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการยุทธศาสตร์การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ - เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติเอื้อต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีแนวทางสำคัญ คือ พัฒนากลไก / กระบวนการจัดการ เชิงบูรณาการระดับพื้นที่ที่เน้นการมีส่วนร่วม ปรับปรุง กฎหมาย และเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้ พัฒนา นวัตกรรมทาง เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับท้องถิ่น กำหนด ท่าทีด้านการค้า และสิ่งแวดล้อมในเวทีโลก

  22. ดัชนีชี้วัด 5 เพื่อติดตามสภาพและความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ ดัชนีชี้วัดการพัฒนาที่ยั่งยืน • ด้านสิ่งแวดล้อม - GEPเช่น คุณภาพน้ำ คุณภาพอากาศ ปริมาณของเสีย • ด้านเศรษฐกิจ - GDP เช่น สัดส่วนหนี้ / GDP การบริโภคพลังงาน/หัว สัดส่วนการลงทุน ใน R&D / GDP ฯลฯ • ด้านสังคม - HDI เช่น รายได้เฉลี่ยครัวเรือน สัดส่วนคนจน จำนวนผู้ป่วย ค่าใช้จ่าย ในการรักษาพยาบาล ฯลฯ

  23. สรุป 6 • การพัฒนาเศรษฐกิจต้องคำนึงถึงต้นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม • ต้องพัฒนาทุนทางสังคมให้เกิดจิตสำนึก และความรับผิดชอบของทั้งตัวบุคคลและชุมชน ในการรักษาสิ่งแวดล้อม และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า

  24. สรุป (ต่อ) 6 • ต้องพัฒนาดัชนีชี้วัดความยั่งยืน โดยประชาชนมีส่วนร่วมและยอมรับ • รัฐต้องสนับสนุนงบประมาณอย่างต่อเนื่องและเพียงพอ • หน่วยงานรับผิดชอบต้องสามารถประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชนให้การพัฒนาเป็นไปอย่างสมดุล

More Related