1 / 231

วันที่ ๒๑ – ๒๓ มกราคม ๒๕๕๖ ณ ปัญจดารา จ.นครราชสีมา

การประชุมปฏิบัติการแนวคิดการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ ผ่านกลไกการดำเนินงานอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับตำบล. วันที่ ๒๑ – ๒๓ มกราคม ๒๕๕๖ ณ ปัญจดารา จ.นครราชสีมา. กิจกรรมที่ ๑ : แนะนำตัว/ความคาดหวัง/ชี้แจงกำหนดการ. แนะนำตัว ชื่อ สกุล การทำงาน แจกหัวใจ

Download Presentation

วันที่ ๒๑ – ๒๓ มกราคม ๒๕๕๖ ณ ปัญจดารา จ.นครราชสีมา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมปฏิบัติการแนวคิดการดำเนินงานป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ ผ่านกลไกการดำเนินงานอำเภอป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนระดับตำบล วันที่ ๒๑ – ๒๓ มกราคม ๒๕๕๖ ณ ปัญจดารา จ.นครราชสีมา

  2. กิจกรรมที่ ๑ : แนะนำตัว/ความคาดหวัง/ชี้แจงกำหนดการ • แนะนำตัว ชื่อ สกุล การทำงาน • แจกหัวใจ • เขียนความคาดหวังหรือ สิ่งที่ต้องการรู้มากขึ้น ในการอบรม ๓ วันนี้ • นำเสนอข้อมูลในกลุ่มใหญ่

  3. ความต้องการ/คาดหวัง • อยากแก้ปัญหาเด็กท้อง • แนวทาง ที่จะช่วยเด็ก ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ความต้องการ/คาดหวัง/รู้เพิ่ม • สิ่งใหม่ๆ เช่น เรื่องเพศ • รู้จักภาคีตำบลอื่น • หลักการทำงานในตำบลให้ทำได้จริง • แนวนโยบายการทำงาน • งบประมาณในการทำงาน • ปัญหายาเสพติด • แก้ปัญหารถโบราณ • เทคนิค/ทักษะ การบอกให้เยาวชน เชื่อฟัง

  4. วัตถุประสงค์ • เพื่อสร้างความร่วมมือ ความเข้าใจ และแรงบันดาลใจ • สร้างความเข้าใจเรื่องเพศวิถี • สร้างความเข้าใจการพัฒนาเยาวชน • วางแผนในการแก้ไขปัญหาเยาวชนอย่างมีส่วนร่วมให้มีคุณภาพและยั่งยืน

  5. การรับรู้ของคน 10% การอ่าน 20% การฟัง การอ่าน การฟัง รับรู้จากการฟัง เห็น พูด 30% สิ่งที่เราเห็น ดูภาพ-ภาพยนตร์ รับรู้จากการ มองเห็น 50% เห็น + ฟัง ชมสาธิต - ไปดูงาน 70%สิ่งที่เราพูด ร่วมอภิปราย + แสดงความคิดเห็น จากการมี ส่วนร่วม 90% สิ่งที่เรา ได้ลงมือทำ ได้แสดง / อยู่ในสถานการณ์จำลอง ลงมือทำจริง + สรุป (นำไปเล่าต่อ) ..

  6. Apply ประยุกต์ใช้ Reflect สะท้อนสิ่งที่เรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์(Experiential Learning) + 4 A Model Do/Experience ทำกิจกรรม/ มีประสบการณ์ร่วม Analyze/Synthesize คิด/วิเคราะห์/สังเคราะห์/สรุป เติมข้อมูลใหม่ เติมข้อมูลใหม่

  7. กระบวนการเรียนรู้ เยาวชน กรอบแนวคิดในการเอบรม บริบททางสังคมวัฒนธรรม เพศวิถีSexuality แนวทางการให้การศึกษาเรื่อง “ชีวิตและครอบครัวศึกษา” กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๓และ A Comprehensive Sexuality Education, SIECUS, National Guidelines Task Force

  8. ท้อง แท้งHIV STI EQ สารเสพติด รุนแรง

  9. GAP ของการดำเนินงานด้านสุขภาพในปัจจุบัน • การมีส่วนร่วม ของภาคียังไม่เป็นจริง • “การดูแลสุขภาพเป็นเรื่องของสาธารณสุขเท่านั้น” • มีตัวชี้วัด/นโยบายสั่งการลงไปพื้นที่มาก • บางตัวชี้วัดไม่ตอบสนองต่อปัญหาจริงในพื้นที่ • ขาดการจัดการข้อมูลที่เป็นระบบและมีคุณภาพเพื่อสะท้อนรากของปัญหา ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลและการส่งสะท้อนข้อมูลต่อภาคี

  10. GAP ของการดำเนินงานด้านสุขภาพในปัจจุบัน • กระบวนการวางแผนแก้ไขปัญหา ยังไม่ตอบการแก้ปัญหา • ที่รากและไม่รอบด้านเพียงพอที่จะก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ยังแก้ที่ปลายเหตุ เช่น ให้ความรู้ รณรงค์ เน้นรักษามากกว่าป้องกัน • จนท.ส่วนใหญ่ไม่เข้าใจแนวคิดการทำงานเพื่อส่งเสริมสุขภาพ การแก้ปัญหายังทำเป็นรายกิจกรรม ขาดความต่อเนื่อง ไม่มองเชิงระบบ • “ ไม่มีความสำเร็จใด ที่คิดเหมือนเดิม ทำเหมือนเดิม • แล้วจะดีกว่าเดิม” • ที่มา...จากการถอดบทเรียนภาคีเครือข่ายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ในการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการจัดการเชิงระบบเพื่อพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคแบบยั่งยืน 14 ม.ค.-มี.ค.2554 11

  11. นิยาม “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ 12

  12. ข้อตกลงร่วมกัน • มีส่วนร่วมแลกเปลี่ยน • ตรงเวลา • รักษาความลับ • ปิดเสียงโทรศัพท์

  13. กิจกรรมที่ ๒ : สถานี “รู้เขารู้เรา”

  14. ๓. สถานี “รู้เขารู้เรา” คำถาม: ๑. วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เรารู้สึกเป็นห่วงคือ • เรื่องเพศที่เยาวชนสนใจ ได้แก่... • เยาวชนเรียนรู้เรื่องเพศจากใคร หรือที่ใด ๔. สาเหตุที่เยาวชนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยาง คือ... ๕. การดำเนินงานเรื่องเอดส์และลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเยาวชนที่ผ่านมาคือ ๖. ความท้าทายในการดำเนินงานเรื่องเอดส์และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ คือ

  15. แบ่งกลุ่ม ๖ สถานีเพื่อ... ๑. วิเคราะห์และสรุปประเด็นสำคัญและตั้งข้อสังเกตุ ที่พบในแต่ละสถานี(๕ นาที) ๒. ส่งตัวแทนนำเสนอกลุ่มละไม่เกิน ๒ นาที

  16. วิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เรารู้สึกเป็นห่วงคือวิถีชีวิตและพฤติกรรมทางเพศของเยาวชนที่เรารู้สึกเป็นห่วงคือ • มีเพศสัมพันธ์ • เข้าถึงสื่อ • มั่วสุม ล่าแต้ม • มีแฟน • ทำแท้ง • ติดโรค • มีsex ทำให้แฟนรัก เด็กเล่าให้ครูฟัง ผู้หญิง ถ้าเขามีเพศสัมพันธ์เยอะ กล้าเล่า ดูดี เพื่อนชื่นชม แสดงความเป็นฮีโร่ มีเพศสัมพันธ์กันง่าย สาเหตุ ครอบครัวอยากสร้างคุณค่า สังคมให้โอกาสเด็กแค่ไหน วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ความอบอุ่นของครอบครัวสื่อ

  17. ๒.เรื่องเพศที่เยาวชนสนใจ ได้แก่... • ครู ควรสอนตั้งแต่อนุบาล • แต่ถูกครูอื่นๆไม่เห็นด้วย • การเปลี่ยนแปลง • คุมกำเนิด • การยอมรับ • การช่วยตัวเอง • การร่วมเพศ • อกฟู รูฟิต • มีแฟนหลายคน

  18. ๓.เยาวชนเรียนรู้เรื่องเพศจากใคร หรือที่ใด • เพื่อน แฟน • เน็ท • พ่อแม่ ญาติ • รพ สต โจทย์ ผู้ใหญ่ ครู ทำให้เด็กอยู่ได้อย่างปลอดภัย ครูบางคนด่าๆ ยังไม่ถึงเวลา หยุดความคิดเด็ก ฟังเด็ก ให้ทางเลือก ยกตัวอย่าง เรายอมรับฟังเขาจะคุยและเอาความคิดดี ไปใส่ได้

  19. ๔.สาเหตุที่เยาวชนมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยาง คือ... • เชย • ไม่กล้า • รักไม่ใช้ • สื่อไม่ใช้ • หาซื้อยาก • ฉุกเฉิน • ไม่มัน • ไม่มีเงิน • ถูกเล่าต่อ ข้อจำกัด เด็กเข้าไม่ถึง ใช้ตู้หยอดเหรีญ คนใช้ไม่หยอด

  20. ๕.การดำเนินงานเรื่องเอดส์และลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเยาวชนที่ผ่านมาคือ๕.การดำเนินงานเรื่องเอดส์และลดพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของเยาวชนที่ผ่านมาคือ • ให้ความรู้ • แจกถุง • โครงการให้ความรู้ใน รร. • ติดตั้งตู้ • ค่ายอบรม YC • โครงการอบรม • ดูงานวัดพระบาทน้ำพุ • เสนอผู้บริหาร

  21. ๖.ความท้าทายในการดำเนินงานเรื่องเอดส์และพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ คือ • ทำตามนโยบาย ผลลัพธ์น้อย • ทำเดิมๆ • ทำ ๒๐ ปี เหมือนเดิม • ชุมชนไม่ยอมรับ • แรงจูงใจแรงสนับสนุนน้อย • ความเข้าใจพฤติกรรมวัยรุ่น

  22. สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการป้องกันแก้ไขปัญหาเอดส์ เพศในเยาวชนคือ.... • ความคิด ต่อเรื่อง เพศศึกษา ของเราคนทำงาน • เปิดใจ เรา คนทำงาน เข้าใจ ความเป็นวัยรุ่น ไม่ตัดสิน • ทัศนคติความเชื่อเดิมๆ เช่น เรื่องเพศต้องปรับเปลี่ยน • ต้องเปิดการเรียนรู้เพิ่มจากภาคี • อยากให้ผู้ปกครอง พ่อแม่ เข้าใจการดูแลลูก • การเข้าถึง ถุงยางอนามัย ของเยาวชน

  23. โจทย์สำคัญ .. ที่ต้องทำไปพร้อมๆกัน • สร้างประเด็นเยาวชน • เป็นนโยบายสาธารณะ • (talk of the town) • ผู้บริหาร • สื่อมวลชน • ฯลฯ 5 2 • พัฒนาทักษะส่วนบุคคล • ปรับหลักสูตร • ปรับกิจกรรมในโรงเรียน • ที่เปิดกว้าง-เหมาะสมกับ • การเรียนรู้ของเยาวชน เยาวชน เรียนรู้ - ตระหนักคุณค่าตัวเอง 4 • สร้างสิ่งแวดล้อม • ที่เอื้อต่อสุขภาพ • สื่อ สิ่งพิมพ์ (TV VCD) • internet • การบริโภคสุรา • สถานบันเทิง ฯลฯ • สร้างชุมชนเข้มแข็ง • และสนับสนุนการมีส่วนร่วม • (เปิดพื้นที่ทางสังคม – สนับสนุน) • เครือข่ายผู้ปกครอง • บทบาทท้องถิ่น 3 1 ที่สำคัญ ..ปรับทัศนะคนทำงาน + ปรับระบบงาน

  24. ความเป็นจริงเรื่องเพศในสังคมไทย*ความเป็นจริงเรื่องเพศในสังคมไทย*

  25. ภาพสะท้อนเรื่องเพศในสังคมไทย – ๑* • เพศสัมพันธ์ครั้งแรกของเยาวชน อายุน้อยลง (เฉลี่ย ๑๔.๕-๑๖.๗ ปี) • เพศสัมพันธ์ครั้งแรกเกิดขึ้นก่อนแต่งงาน (ชาย ๘๔% หญิง ๗๖%) • ๕๒% ของวัยรุ่นเคยมีคู่นอนมากกว่า ๑คน • เยาวชนเพียง ๒๓% ใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก • คนหนุ่มสาวแต่งงานในอายุที่มากขึ้น * รวบรวมจากงานวิจัยหลายๆ ชิ้นในช่วง ๔๒-๔๗

  26. ภาพสะท้อนเรื่องเพศในสังคมไทย – ๒* • ผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ เกิดขึ้นในกลุ่มเยาวชนมากที่สุด (๑๕-๒๔ ปี มีอัตราการติดเชื้อสูงสุด) • ๑๑.๑% ของผู้ป่วยเอดส์ ๓๑.๗% ของผู้ป่วยกามโรค และ ๓๐% ของผู้หญิงที่ทำแท้งอยู่ในช่วงวัยรุ่นอายุน้อยกว่า ๒๐ปี • ปี ๒๕๔๗ คาดว่ามีเด็กที่ได้รับเชื้อเอชไอวี ๒๒,๘๕๒ คน • ๗๐% เรียนประถมศึกษา • ๕-๖% เรียนมัธยมศึกษา * รวบรวมจากงานวิจัยหลายๆ ชิ้นในช่วง ๔๒-๔๗

  27. ภาพสะท้อนเรื่องเพศในสังคมไทย – ๓* • วัยรุ่นเริ่มเรียนรู้เพศศึกษาจากโรงเรียน ที่อายุ ๑๕.๖ ปี • วัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาจาก พ่อแม่ เพียง ๑% (ค่าเฉลี่ยทั่วโลกอยู่ที่ ๑๒ %) • วัยรุ่นเรียนรู้เรื่องเพศจากอินเทอร์เน็ตมากเป็นอันดับ๑ * รวบรวมจากงานวิจัยหลายๆ ชิ้นในช่วง ๔๒-๔๗

  28. ภาพสะท้อนเรื่องเพศในสังคมไทย– ๔* • วัยรุ่นทั้งชายและหญิงมองว่าการมีคู่หลายคนหรือมี “กิ๊ก” เป็นเรื่องทันสมัย • ร้อยละ ๗๔ ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อหาเพื่อน และร้อยละ ๑๐.๗ หาแฟน • วัยรุ่นอายุต่ำกว่า ๑๙ ปีทำคลอดเพิ่มขึ้นจาก ๕๒,๐๐๐ ราย ในปี ๒๕๔๖-๒๕๔๗ เป็นกว่า ๗๐,๐๐๐ ราย ในปี ๒๕๔๘-๒๕๔๙ หรือ เฉลี่ยวันละเกือบ ๒๐๐ คน ในจำนวนนี้เป็นเด็กอายุต่ำกว่า ๑๔ ปี จำนวน ๒,๐๐๐ คน เฉลี่ยวันละ ๕ คน *รวบรวมจากงานวิจัยต้นปี ๒๕๕๐

  29. ร้อยละการใช้ถุงยางอนามัยและการคลอดบุตรของมารดาอายุ < 20 ปีเขตบริการที่ 9 ปีงบประมาณ 2553-2555 ที่มา : Node MCH and Teenage pregnancy

  30. มีการติดเชื้อเอดส์รายใหม่ วันละ 45 ราย แนวโน้มพบในกลุ่มอายุน้อยลง

  31. ประเทศไทยใช้งบประมาณในการรักษาผู้ป่วยเอดส์ ปีละไม่ต่ำกว่า 3,000 ล้าน

  32. อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ต่อประชากรแสนคน จำแนกตามชนิดโรค ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2543 – 2552

  33. อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ต่อประชากรแสนคน จำแนกตามกลุ่มอายุ ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2543 – 2552

  34. กรอบการดำเนินงานเอดส์&STIs ปี 2556 เข้าสู่ระบบการรักษาช้า การเสียชีวิตผู้ไม่รับยาสูงกว่ารับยา ขาดยา ดื้อยา พัฒนาระบบบริการดูแลรักษา HIV/AIDS พัฒนาระบบบริการโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น VCTยังต่ำ Condom ต่ำ พัฒนาระบบบริการให้การปรึกษา สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพองค์กรเอกชนด้านเอดส์ กลไกการ พัฒนาระบบ ป้องกัน ??? พัฒนาระบบเพศศึกษา กลไกการเชื่อมประสานในพื้นที่ ยังไม่เข้มแข็งพอ พัฒนาระบบ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ตำบลสุขภาพ

  35. กรอบการดำเนินงานเอดส์&STIs ปี 2556 เข้าสู่ระบบการรักษาช้า การเสียชีวิตผู้ไม่รับยาสูงกว่ารับยา ขาดยา ดื้อยา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สูงขึ้น VCTยังต่ำ Condom ต่ำ สังคม สิ่งแวดล้อม ครอบครัว ปัจเจก

  36. ภาพสะท้อนเรื่องเพศในสังคมไทย – ๕* • ร้อยละ ๘๔.๓ ของพ่อแม่ระบุว่าลูกสนิทกับตนเองมากที่สุด แต่ความเป็นจริงมีเพียงครึ่งหนึ่งเท่านั้นที่กล้าพูดคุยเรื่อง “เพศ” กับพ่อแม่ • ร้อยละ ๗๘.๘ ของพ่อแม่มั่นใจว่าตนเองเป็นผู้ที่เหมาะสมในการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาแก่ลูก ขณะที่ ร้อยละ ๒๐.๓ ครูเหมาะสมกว่า และควรเริ่มสอนตั้งแต่ ป. ๕-๖ • เด็กอายุเฉลี่ย ๔.๑ ปี และต่ำสุด ๑.๒ ปี เริ่มอยากรู้อยากเห็นเรื่องเพศศึกษา และถามตรงๆ กับพ่อแม่ *รวบรวมจากงานวิจัยต้นปี ๒๕๕๐

  37. วัยรุ่นเรียนเรื่องเพศจากไหน?วัยรุ่นเรียนเรื่องเพศจากไหน? • ถ้าเป็นเรื่องอวัยวะเพศ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เรียนจากตำราเรียนและครูสอน • ถ้าเป็นเรื่องความผิดปกติทางเพศ รู้จากหนังสือพิมพ์ ทีวีและเห็นจากเพื่อนๆ • สำหรับท่าทางร่วมเพศ ดูจากวีซีดีโป๊ที่เวียนดูกันกับกลุ่มเพื่อน • ส่วนเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์ ความต้องการทางเพศ รู้จากเพื่อนนักเรียนด้วยกัน • ข้อมูลที่น่าสนใจคือ เกือบห้าพันคนนี้เรียนรู้เรื่องเพศจากพ่อแม่น้อยมาก โดยเฉพาะ แต่ละหัวข้อ • เด็กรู้จากพ่อแม่ไม่ถึงสิบคน บางคนบอกว่า เพศศึกษาเป็นเรื่องที่พ่อแม่ไม่สั่งสอน

  38. สังคม การทำพฤติกรรมใหม่อย่างต่อเนื่อง การลองทำพฤติกรรมใหม่ เกิดแรงจูงใจที่จะทำ ปรับความคิด/มีทักษะ เกิดความรู้/ความตระหนัก ไม่ตระหนัก บุคคล กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  39. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • ความรู้ และข้อมูลเป็นเพียงจุดเริ่มต้น แต่ไม่เพียงพอที่จะทำให้เปลี่ยนพฤติกรรม • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นเรื่องไม่ง่าย เปลี่ยนได้ แต่ใช้เวลา และความพยายามต่อเนื่อง • การให้ข้อมูลที่ทำให้เกิดความกลัวมีข้อจำกัดในการกระตุ้นให้เปลี่ยน พฤติกรรม • พฤติกรรม ของแต่ละคนแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงวัย/สภาพแวดล้อม • พฤติกรรมบุคคลเป็นผลจากค่านิยมและการให้คุณค่าในสังคม • บุคคลจะยอมรับพฤติกรรมใหม่ง่ายขึ้น ถ้ารู้สึกว่าตัวเองสามารถทำได้ • การเปลี่ยนพฤติกรรมบุคคลเกี่ยวพันกับแบบแผนการปฏิบัติของชุมชนและสภาพแวดล้อมด้วย

  40. กิจกรรมที่ ๔ : เส้นชีวิต

  41. เมื่อพูดถึง “เพศ” คุณนึกถึง...

  42. เมื่อพูดถึง “เพศ” คุณนึกถึง... • พุ่มไม้ • โรคติดต่อ • การตั้งครรภ์ • การสำส่อน • อุปกรณ์ช่วย • โซ่ แซ่ กุญแจมือ • น้ำแข็ง • เหล้า เบียร์ • นุ่งน้อย ห่มน้อย • เกี่ยวข้อง • การป้องกัน • สังคม สวล • พัฒนาการ • พฤติกรรม • ผู้ชาย ผู้หญิง • มีเพศสัมพันธ์ • อวัยวะเพศ • นม • หนังโป๊ • ถุงยาง • หมอนข้าง • กระเทย • โรงแรม

  43. Sexuality เพศวิถี หมายถึง ค่านิยม บรรทัดฐาน และระบบวิธีคิด วิธีปฏิบัติที่เกี่ยวกับความปรารถนาและการแสดงออกทางเพศ ความคิดเกี่ยวกับคู่รัก คู่ชีวิตในอุดมคติ ซึ่งไม่ใช่พฤติกรรมตามธรรมชาติ แต่เป็นการสร้างความหมายทางสังคม เพศวิถีจึงสัมพันธ์กับมิติทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่กำหนดและสร้างความหมายให้แก่เรื่องเพศในทุกแง่มุม เช่น “ความปกติ” ของการเป็นคนรักต่างเพศ “ความผิดปกติ” ของคนรักเพศเดียวกัน หรือ “ผู้หญิงดี” คือผู้ที่อ่อนประสบการณ์ หรือเป็นฝ่ายรับในเรื่องเพศ (passive) เพศสัมพันธ์ในรูปแบบ ต่าง ๆ เช่น การมีเพศสัมพันธ์กับคนเพียงคนเดียว หรือหลายคน การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย/ไม่ปลอดภัย รักต่างวัย รักนอกสมรส ทั้งหมดนี้เป็นตัวอย่างของเพศวิถี ซึ่งมีความหลากหลาย เพศวิถีเป็นสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละวัฒนธรรม ชนชั้น และกาลเวลา เช่น เพศวิถีในสมัยต้นรัตนโกสินทร์มองว่าการที่ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่น ห่มสไบผืนเล็กปกปิดร่างกายส่วนบน ไม่ถือว่าโป๊ หรือเป็นผู้หญิงใจแตก ใจง่ายแต่อย่างใด เพศวิถี จึงเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต และมีความเชื่อมโยงกับ “ภาวะความเป็นหญิงหรือชายของผู้คนตามที่สังคมคาดหวัง” หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า เพศภาวะ • (ที่มา: เอกสารโครงการ แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะทางเพศ, เมษายน ๒๕๔๙)

  44. อ่านบทความ ”เพศวิถี” มีประเด็นสำคัญอย่างไร • แต่ละคนมี ลักษณะเรื่องเพศที่ต่างกัน • รสนิยมทางเพศที่แตกต่างกัน • คนสร้าง กำหนด สัญลักษณ์ เรื่องเพศ เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย • วัฒนธรรมตามยุคสมัย เรื่องเพศ

  45. เส้นชีวิต • กลุ่ม ๑ วัยเด็ก ๐-๙ ปี • กลุ่ม ๒ วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี • กลุ่ม ๓ วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ ปี • กลุ่ม ๔วัยทำงาน ๓๐-๔๕ ปี • กลุ่ม ๕ วัยผู้ใหญ่ ๔๖–๖๔ ปี • กลุ่ม ๖ วัยสูงอายุ ๖๕ ปีขึ้นไป เรื่องเพศที่เกิดขึ้น หรือเกี่ยวข้องกับคนในแต่ละช่วงวัยมีอะไรบ้าง

  46. ตั้งคำถาม ผู้หญิงกระโปรง ชายกางเกง เสื้อสีหวาน สัมผัสอวัยวะเพศ • เปลี่ยนคู่นอน ตั้งครรภ์ เป็นโรค ปัญหาครอบครัง แลกเงิน มีกิ๊ก มีเพศสัมพันธ์ • มีเพศสัมพันธ์ ความคิด เห็นเรื่องเพศไม่ตรงกัน มีความต้องการสูง รักสนุก อยากเป็นฮีโร่ ล่าแต้ม กล้าแสดงออก อยากเห็น อยากลอง ตั้งครรภ์ การแต่งกายดึงดูด ฮอร์โมน วัยเด็ก ๐-๙ ปี วัยหนุ่มสาว ๒๐–๒๙ วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี วัยสูงอายุ ๖๕ ปีขึ้น ไป วัยผู้ใหญ่ ๔๖–๖๔ ปี วัยทำงาน ๓๐-๔๕ ปี • เข้าวัด กำลังถอย หญิงไม่ต้องการ ชายต้องการ เสื่อม ไม่มีปฏิสัมพันธ์ อญุ่กันแบบเพื่อน • เปลี่ยนคู่ มีกิ๊ก ไม่สมดุลย์ ชอบเที่ยว ความต้องการลด เข้าวัยทอง ชายมองเด็ก จ้างยิงคู่ สรีระเหี่ยวยานลง • เบื่อคู่ ครอบครัวแตกแยก หาคู่ หญิงวัยทอง มีเวลาน้อย หย่าร้าง มีกิ๊ก ชายชอบทำตัวให้เด็ก

  47. ข้อสังเกต • เหมือนเป็นกราฟ • เรื่องเพศ เกียวข้อง พัฒนาการ สอดคล้องกับพฤติกรรม เรื่องเพศ • มีปัญหาทุกวัย แตกต่างกัน การดูแล น่าจะแตกต่าง • กลุ่มวัยรุ่น จะหนัก กว่ากลุ่มอื่นๆ

More Related