1 / 64

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร พ.ศ 2551. ปัญหา ยาเสพติด. การรุกล้ำอธิปไตย. ปัญหา เส้นเขตแดน. แรงงาน ต่างด้าว. กระทำผิด พ.ร.บ.ต่างๆ. กลุ่ม ผลประโยชน์. ลักลอบทำลาย ธรรมชาติ.

Download Presentation

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

  2. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร พ.ศ 2551

  3. ปัญหายาเสพติด การรุกล้ำอธิปไตย ปัญหาเส้นเขตแดน แรงงานต่างด้าว กระทำผิดพ.ร.บ.ต่างๆ กลุ่มผลประโยชน์ ลักลอบทำลายธรรมชาติ ภัยธรรมชาติ ปัญหาพื้นฐานของ ปชช. ปัญหาการก่อการร้าย เหตุผล/ความจำเป็น เหตุผล/ความจำเป็น ภัยคุกคาม

  4. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ เหตุผล/ความจำเป็น เหตุผล/ความจำเป็น ความมั่นคงของชาติ ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ความจำเป็น กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง วิถีชีวิตของประชาชน

  5. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ เหตุผล/ความจำเป็น เหตุผล/ความจำเป็น กระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง ความมั่นคง สิทธิเสรีภาพ เปรียบเทียบ มีความคุ้มค่าและยอมรับได้

  6. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ เหตุผล/ความจำเป็น เหตุผล/ความจำเป็น • ประเทศสหรัฐฯ มีหน่วยงาน Home Land Defense กฎหมายความมั่นคง คือ Patriot Act • ประเทศอังกฤษ, มาเลเซีย และสิงคโปร์ กฎหมายด้านความมั่นคง ISA (Internal Security Acts)

  7. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑ วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ • เป็นกฎหมายเพื่อให้ กอ.รมน. มีสถานะหน่วยงานราชการเช่นเดียวกับ กระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ โดยสามารถอำนวยการและแก้ไขปัญหาความมั่นคงได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และจะทำให้กำลังพลที่ปฏิบัติงานใน กอ.รมน. มีสิทธิ อัตรา และตำแหน่งใน กอ.รมน. รองรับ ซึ่งจะทำให้มีขวัญ กำลังใจ ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลเป็นงบประจำ (Function)

  8. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ • เป็นกฎหมายรองรับการปฏิบัติงานของ กอ.รมน. รวมทั้งเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน ใน กอ.รมน. เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาความมั่นคงภายใน ซึ่งได้รับมอบภารกิจจากรัฐบาลผ่านทางสภาความมั่นคงแห่งชาติ • พ.ร.บ.ฯ ดังกล่าว จะกำหนดอำนาจ หน้าที่ให้กับ กอ.รมน. ในการอำนวยการ และประสานงานหน่วยงานด้านความมั่นคงของรัฐในยามปกติ และสามารถ ควบคุมหน่วยงานด้านความมั่นคงของรัฐอื่น ๆ ได้ เมื่อประกาศเขตพื้นที่รักษา ความมั่นคงภายใน

  9. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ กรอบแนวความคิดของ พ.ร.บ.ฯ กรอบแนวความคิดของ พ.ร.บ.ฯ • เป็นกฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาความมั่นคงภายใน แทน/ร่วมกับกฎหมายพิเศษอื่น ๆ เช่น พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ และ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ โดยมีระดับการใช้อำนาจหน้าที่ต่ำกว่า พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉินฯและกฎอัยการศืกฯ

  10. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ กรอบแนวความคิดของ พ.ร.บ.ฯ กรอบแนวความคิดของ พ.ร.บ.ฯ • สามารถรองรับการปฏิบัติงานของหน่วยและเจ้าพนักงาน • มีการถ่วงดุลอำนาจที่มีความเหมาะสม และกระทบต่อสิทธิเสรีภาพ ของประชาชนน้อยที่สุด • ใช้ในการปฏิบัติงานรักษาความมั่นคงภายใน ทดแทนการประกาศกฎอัยการศึก

  11. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ การปฏิบัติงานภายใต้ พ.ร.บ.ฯ การปฏิบัติงานภายใต้ พ.ร.บ.ฯ • นรม. เป็น ผอ.รมน. ควบคุมการดำเนินงานของ กอ.รมน. • มทภ. เป็น ผอ.รมน.ภาค ควบคุมการดำเนินงานของ กอ.รมน.ภาค • ผวจ. เป็น ผอ.รมน.จว. ควบคุมการดำเนินงานของ กอ.รมน.จว.

  12. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ การปฏิบัติงานภายใต้ พ.ร.บ.ฯ การปฏิบัติงานภายใต้ พ.ร.บ.ฯ • มีบทบาทเป็นองค์กรกลางในการอำนวยการและประสานการปฏิบัติในการนำ นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงของรัฐ และวาระเร่งด่วนแห่งชาติไปสู่การ ปฏิบัติ • การดำเนินงานนั้นจะปฏิบัติงานภายใต้กรอบแนวทาง การปฏิบัติและกำกับดูแล โดยคณะกรรมการรักษาความมั่นคงภายใน • กอ.รมน. เป็นหน่วยงานในสำนักนายกรัฐมนตรี โดยข้าราชการที่ปฏิบัติงานใน กอ.รมน. จะมีทั้งข้าราชการผสม พลเรือน ตำรวจและทหาร

  13. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ ยามปกติ • กอ.รมน. จะทำหน้าที่ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินแนวโน้มสถานการณ์ รวมทั้งอำนวยการและประสานงานด้านความมั่นคง กับหน่วยงานความมั่นคง ของรัฐ ในลักษณะบูรณาการงานด้านความมั่นคง โดยไม่มีอำนาจพิเศษใด ๆ เพิ่มเติม ยกเว้นได้รับมอบหมายเพิ่มเติมจาก ครม., สมช. และ นรม.

  14. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ ภาวะวิกฤติ • จะประกาศพื้นที่เป็นพื้นที่รักษาความมั่นคงภายใน โดยผ่านมติ ครม. • กอ.รมน. จะปฏิบัติงานในลักษณะ ควบคุม อำนวยการ และสั่งการหน่วยงาน ความมั่นคงของรัฐ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่เกิดขึ้น • ผอ.รมน. จะแต่งตั้งเจ้าพนักงานซึ่งเป็นข้าราชการพลเรือน ตำรวจ และทหาร ที่เป็นเจ้าหน้าที่ของ กอ.รมน. เป็นผู้ปฏิบัติงาน • หากเหตุการณ์สิ้นสุดลง ให้ นรม. ประกาศสิ้นสุด โดยรายงานผลต่อสภาแทนราษฎร และวุฒิสภา ทราบ

  15. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ อำนาจในการแก้ไขสถานการณ์อันเป็นภัยต่อความมั่นคงในราชอาณาจักร • ในรายละเอียดของอำนาจนั้น ไม่ได้กำหนดให้มีอำนาจมากกว่ากฎหมาย ความมั่นคงพิเศษอื่น ๆ • โดยมีอำนาจต่ำกว่า พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ปี ๒๕๔๘ และ พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗

  16. พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑ การซ้ำซ้อนกับกฎหมายอื่นๆ การซ้ำซ้อนกับกฎหมายอื่นๆ • ในรายละเอียดนั้น ไม่ซ้ำซ้อนกับกฎหมายความมั่นคงอื่น ๆ แต่จะเป็นการ ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาความมั่นคงเป็นไปตามขั้นตอน และระดับ สถานการณ์ความรุนแรง อันจะเป็นการลดผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน • การแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงจะใช้ร่าง พ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ก่อน หากสถานการณ์ รุนแรงขึ้น ก็จะใช้ พ.ร.ก.ฯ และกฎอัยการศึก ตามลำดับ หรืออาจใช้ทั้ง ๓ ฉบับ ร่วมกัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น ในพื้นที่ จชต.

  17. รายละเอียดที่สำคัญของรายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑

  18. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา คำนิยาม ประกอบด้วย๔ มาตรา มาตรา ๓ คำนิยามของการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร โดยกล่าวถึงภัยเฉพาะภัยอันเกิดจากบุคคลหรือกลุ่ม บุคคล หมวด ๑ กองอำนวยการรักษาความมั่งคงภายในราชอาณาจักร ประกอบด้วย ๑๐ มาตรา ที่สำคัญคือ

  19. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๑กองอำนวยการรักษาความมั่งคงภายในราชอาณาจักร ประกอบด้วย ๑๐ มาตรา ที่สำคัญคือ มาตรา ๕ กอ.รมน. เป็นหน่วยในสำนักนายกฯมีฐานะเป็นส่วนราชการรูปแบบเฉพาะ อยู่ภายใต้การบังคับบัญชา ขึ้นตรงต่อ นรม. มาตรา ๗อำนาจหน้าที่ยามปกติ ๑. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินแนวโน้มสถานการณ์ ๒. อำนวยการในการรักษาความมั่นคงภายใน ๓. อำนวยการ ประสานงาน และเสริมสร้างการปฏิบัติของ หน่วยงานของรัฐ

  20. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา มาตรา ๑๐ ให้มีคณะกรรมการอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักร ประกอบด้วย นรม. หรือ รอง นรม. ซึ่ง นรม. มอบหมายเป็นประธาน รมว.กห. และ รมว.มท. เป็นรองประธาน รมว.ยธ., รมว.ทก., ปล.กห., ปล.กต., ปล.มท., อส., ลมช., คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน,เลขาธิการคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ,ผบ.สส., ผบ.ทบ., ผบ.ทร., ผบ.ทอ., ผบ.สตช., อธิบดีกรมบัญชีกลาง และอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ เป็นกรรมการ และ ลธ.รมน. เป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ผู้อำนวยการแต่งตั้งข้าง ราชการใน กอ.รมน. เป็นผู้ช่วยเลขานุการ ไม่เกินสองคน

  21. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา มาตรา ๑๐ คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่กำกับ ให้คำปรึกษาและ เสนอแนะต่อ ดังนี้ (๑) วางระเบียบเกี่ยวกับการอำนวยการและประสานงานกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง (๒) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ กอ.รมน. กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด (๓) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการงบประมาณ การเงินการคลัง การพัสดุและการจัดการ ทรัพย์สิน ของ กอ.รมน. (๔) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นคณะที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อปฏิบัติ หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น

  22. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา มาตรา ๑๑ การจัดตั้ง กอ.รมน.ภาค โดยให้จัดตั้งเมื่อมีกรณีจำเป็น คณะกรรมการจะเป็นผู้จัดตั้งโดยขอเสนอของ ผอ.รมน.มาตรา ๑๒ ให้ มทภ.เป็น ผอ.รมน.ภาค คณะกรรมการที่ปรึกษา ประกอบด้วย ประธานกรรมการ และ กรรมการ มีจำนวน ไม่เกิน ๕๐ คน จากผู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือของ ประชาชนในพื้นที่ในทุกภาคส่วน

  23. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา มาตรา ๑๓ การจัดตั้ง กอ.รมน. จว. ผอ.รมน.ภาค จัดตั้งโดยความ เห็นชอบของ รมว.มท. และ ผอ.รมน. ผวจ. เป็น ผอ. รมน.ภาค และเป็นหน่วยขึ้นตรง กอ.รมน.ภาค มาตรา ๑๔ แต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา กอ.รมน.จว. โดย ผอ.รมน.จว. แต่งตั้งไม่เกิน ๓๐ คน โดยแต่งตั้งจากผู้ซึ่ง เป็นเป็นที่ยอมรับนับถือของประชาชน

  24. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ประกอบด้วย ๙ มาตรา มาตรา ๑๕ การประกาศพื้นที่รักษาความมั่นคงภายใน ประกาศโดย ครม. และมอบหมายให้ กอ.รมน.ดำเนินการ นรม. ประกาศสิ้นสุด โดยรายงานให้สภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภาทราบ

  25. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา ๑๖ อำนาจหน้าที่ โดยกำหนดอำนาจหน้าที่พิเศษ ที่สำคัญคือ ๑.ป้องกัน ปราบปราม ระงับ ยับยั้ง และแก้ไขหรือบรรเทาเหตุการณ์ที่ กระทบต่อความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ๒. สั่งให้เจ้าหน้าที่ออกนอกพื้นที่ ๓. หากจำเป็นสามารถเข้าไปปฏิบัติงานแทนหน่วยงานอื่น ๆ ได้มาตรา ๑๗ จัดตั้งหน่วยงานเฉพาะกิจได้

  26. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา ๑๘ การออกข้อกำหนดโดยความเห็นชอบของ ครม. ๑. ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏิบัติการหรืองดเว้นการปฏิบัติการ อย่างหนึ่งอย่างใด ๒. ห้ามเข้าหรือให้ออกจากบริเวณพื้นที่ อาคาร หรือสถานที่ที่กำหนดใน ห้วงเวลาที่ปฏิบัติการ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือ เป็นบุคคลซึ่งได้รับการยกเว้น ๓. ห้ามออกนอกเคหสถานในเวลาที่กำหนด ๔. ห้ามนำอาวุธออกนอกเคหสถาน

  27. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา ๑๘ การออกข้อกำหนดโดยความเห็นชอบของ ครม. ๕. ห้ามการใช้เส้นทางคมนาคมหรือการใช้ยานพาหนะ หรือกำหนด เงื่อนไขการใช้เส้นทางคมนาคมหรือการใช้ยานพาหนะ ๖. ให้บุคคลปฏิบัติหรืองดเว้นการปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใดอันเกี่ยวกับ เครื่องมือ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิส์ เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดแก่ ชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินของประชาชน ข้อกำหนดตามวรรคหนึ่งจะกำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนเวลาหรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้ด้วยก็ได้ ทั้งนี้การกำหนดดังกล่าวต้องไม่ก่อความเดือนร้อนแก่ประชาชนเกินสมควรแก่เหตุ

  28. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา ๑๙ การร่วมเป็นพนักงานสอบสวน มาตรา ๒๐ การเยียวยา มาตรา ๒๑ การเปิดโอกาสให้กลับตัวกลับใจ โดยอยู่ในอำนาจศาล มาตรา ๒๒ การตอบแทนเจ้าหน้าที่ มาตรา ๒๓ การไม่ให้อยู่ในข้อบังคับกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ปกครอง

  29. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๓ บทกำหนดโทษ มาตรา ๒๔ การฝ่าฝืนข้อกำหนด จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

  30. รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ บทเฉพาะกาล ประกอบด้วย ๒ มาตรา มาตรา ๒๕ การโอนทรัพย์สิน กิจการ กอ.รมน. ที่ ๒๐๕/๒๕๔๙ มาเป็นของ กอ.รมน. ในร่าง พ.ร.บ. ฯ ฉบับนี้ มาตรา ๒๖ การให้ ศอ.บต. และ พตท. ที่จัดตั้งตามคำสั่ง ๒๐๗/ ๒๕๔๙ เป็นศูนย์อำนวยการหรือหน่วยงานที่เรียก ชื่ออย่างอื่นตามมาตรา ๑๗

  31. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  32. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  33. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  34. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  35. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  36. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  37. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  38. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  39. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  40. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  41. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  42. ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคงข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

  43. โครงสร้างการจัด รองรับ พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑

  44. กรอบแนวคิด ในการจัดทำโครงสร้าง กรอบแนวคิด ในการจัดทำโครงสร้าง

  45. ภารกิจ บทบาท ตาม พ.ร.บ.ฯ กรอบแนวคิดการจัดทำโครงสร้าง การวิเคราะห์ภัยคุกคาม นโยบายความมั่นคงยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดน ระเบียบหลักเกณฑ์ก.พ.ร. นโยบายของ ครม.๑๘ ก.พ.๕๑ แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ กพ.

  46. สถานการณ์โลก สถานการณ์ภูมิภาค สถานการณ์ภายในประเทศ

  47. องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์ องค์กรสำคัญของรัฐบาลในการเสริมสร้างความมั่นคงของรัฐ และประชาชน แบบยั่งยืน

  48. I.S.O.C I.S.O.C องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์ • องค์กรกลางปฏิบัติงาน บูรณาการและ อำนวยการแก้ไข ปัญหา • สนองตอบการบริหารจัดการปัญหาความมั่นคง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  49. I.S.O.C I.S.O.C องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์ • ปฏิบัติงานได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง • ติดตาม ประเมินสถานการณ์ และแก้ไขปัญหา ได้อย่างทันท่วงที

  50. I.S.O.C I.S.O.C องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์ เกื้อกูลต่อการสานต่อการดำเนินงานในปัจจุบันไปสู่อนาคตได้อย่างเข้มแข็งแบบยั่งยืน

More Related