1 / 32

นโยบาย กศน.จังหวัดลำพูน สุรพงษ์ ไชยวงศ์ ผอ.สำนักงาน กศน.จังหวัดลำพูน

นโยบาย กศน.จังหวัดลำพูน สุรพงษ์ ไชยวงศ์ ผอ.สำนักงาน กศน.จังหวัดลำพูน. คติการทำงาน กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจ ตั้งใจ และสนใจการทำงาน กศน. บนฐานความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม และศรัทธาในปรัชญา กศน. พรบ.การส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 (พรบ.กศน.พ.ศ.2551).

Download Presentation

นโยบาย กศน.จังหวัดลำพูน สุรพงษ์ ไชยวงศ์ ผอ.สำนักงาน กศน.จังหวัดลำพูน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบาย กศน.จังหวัดลำพูนสุรพงษ์ ไชยวงศ์ผอ.สำนักงาน กศน.จังหวัดลำพูน

  2. คติการทำงาน กล้าคิด กล้าทำ กล้าตัดสินใจตั้งใจ และสนใจการทำงาน กศน. บนฐานความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม และศรัทธาในปรัชญา กศน.

  3. พรบ.การส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551(พรบ.กศน.พ.ศ.2551)

  4. มาตรา 5 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาให้บุคคลได้รับ กศน.อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ......โดยให้บุคคลซึ่งได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานไปแล้วหรือไม่ก็ตามมีสิทธิได้รับการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยได้ แล้วแต่กรณี ทั้งนี้ตามกระบวนการและการดำเนินการที่ได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้

  5. มาตรา 6 การส่งเสริม กศน. ให้ยึดหลักดังต่อไปนี้1. การศึกษานอกระบบ (ก) ความเสมอภาคในการเข้าถึงและได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง ทั่วถึง เป็นธรรม และมีคุณภาพ เหมาะสมกับสภาพชีวิตของประชาชน (ข) การกระจายอำนาจแก่สถานศึกษาและการให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้

  6. (2) การศึกษาตามอัธยาศัย (ก) การเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความสนใจและวิถีชีวิตของผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย (ข) การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีความหลากหลาย ทั้งส่วนที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น และส่วนที่นำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการศึกษา (ค) การจัดกรอบหรือแนวทางการเรียนรู้ที่เป็นคุณประโยชน์ต่อผู้เรียน

  7. มาตรา 7 การาส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบ ให้ดำเนินการเพื่อเป้าหมายในเรื่อดังต่อไปนี้ (1) ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาศักยภาพกำลังคนและสังคม ที่ใช้ความรู้ และภูมิปัญญาเป็นฐานในการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ความมั่นคง และคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ตามแนวทางการพัฒนาประเทศ

  8. (2) ภาคีเครือข่ายเกิดแรงจูงใจและมีความพร้อมในการมีส่วนร่วมเพื่อจัดกิจกรรมการศึกษา

  9. มาตรา 8 การส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ดำเนินการเพื่อเป้าหมายในเรื่องดังต่อไปนี้ (1) ผู้เรียนได้รับความรู้และทักษะพื้นฐานในการแสวงหาความรู้ที่จะเอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต (2) ผู้เรียนได้เรียนรู้สาระที่สอดคล้องกับความสนใจและความจำเป็นในการยกระดับคุณภาพชีวิต ทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม (3) ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์และเทียบโอนผลการเรียนกับการศึกษาในระบบและการศึกษานอกระบบ

  10. มาตรา 9 ให้กระทรวงศึกษาส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้ความสำคัญแก่ผู้เกี่ยวข้องตามบทบาทหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (1) ผุ้เรียน ซึ่งเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ และสามารถเลือกรับบริการได้หลากหลายตามความต้องการของตนเอง (2) ผู้จัดการเรียนรู้สำหรับการศึกษานอกระบบและผู้จัดแหล่งเรียนรู้สำหรับการศึกษาตามอัธยาศัย มีการดำเนินการที่หลากหลายตามศักยภาพเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียน โดยบูรณาการความรู้ ปลูกฝังคุณธรรม และค่านิยมที่ดีงาม

  11. มาตรา 10 เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมสนับสนุน.....ส่วนราชการหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องและภาคีเครือข่ายอาจดำเนินการสนับสนุนในเรื่อง (1) สื่อและเทคโนโลยี....... (2) การจัดการศึกษา การพัฒนา.....การใช้ประโยชน์... (3) สิทธิประโยชน์ตามความเหมาะสม....... (4) การสร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้........ (5) ทรัพยากรอื่นที่เกี่ยวข้อง

  12. มาตรา 24 ให้นำกฎกระทรวง ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคำสั่งเกี่ยวกับการจัดการศึกษานอกโรงเรียนที่ใช้บังคับอยู่ในวันที่ พรบ. นี้ใช้บังคับโดยอนุโลม จนกว่าจะมีกฎกระทรวง ข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศที่ออกตาม พรบ. นี้ ทั้งนี้ต้องไม่เกินสองปีนับแต่วันที่ พรบ.นี้บังคับใช้

  13. การศึกษาในระบบ (Formal Education) เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน

  14. การศึกษานอกระบบ(Non – Formal Education) เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละบุคคล

  15. การศึกษาตามอัธยาศัย(Informal Education) เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือแหล่งความรู้อื่น ๆ

  16. การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดลำพูนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดลำพูน • ศูนย์ฯอำเภอ 8 แห่ง • ศูนย์การเรียน 52 แห่ง • ห้องสมุดประชาชน 8 แห่ง • ครูอาสาฯ .... คน • ครู ศรช. .... คน • เครือข่าย.......

  17. ผู้ไม่รู้หนังสือ การศึกษาพื้นฐาน (พบกลุ่ม) - ประถม - ม.ต้น - ม.ปลาย ทางไกล เทียบระดับ วิชาชีพระยะสั้น ทักษะชีวิต หลักสูตรระยะสั้น วิสาหกิจชุมชน ผลงานในปี 2552 . การศึกษาตามอัธยาศัย - ห้องสมุดประชาชน - นิทรรศการ

  18. ปัญหาของชาติ • เศรษฐกิจตกต่ำ/ลำไย , กระเทียม • สินค้าราคาแพง • คนจนเพิ่มขึ้น • ปัญหาทางสังคม(วัยรุ่น,ครอบครัวแตกแยก,ผู้สูงอายุฯลฯ) • ปัญหาการเมือง • ปัญหาสิ่งแวดล้อม , ภาวะโลกร้อน ,มลภาวะเป็นพิษ • ปัญหาสุภาพอนามัย • ปัญหาคุณภาพชีวิต • อื่น ๆ

  19. ปัญหาจังหวัดลำพูน • น้ำท่วม/การชลประทาน • ผลผลิตทางการเกษตรต่ำ/ • ข้าว/ลำไย,กระเทียมไม่ได้ราคา/พ่อค้าคนกลาง • รายได้ประชากรลด , หนี้เพิ่ม • ปัญหาเยาวชน , ผู้สูงอายุ ,ครอบครัวแตกแยก • เด็กออกกลางคันสูง/ • การศึกษาต่ำ/ไม่มีคุณภาพ/สังคมล่มสลาย • ปัญหาด้านสุขภาพอนามัย • อื่น ๆ

  20. จำนวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่มีงานทำ จำแนกตามระดับการศึกษา(พ.ศ.2547)

  21. ประเด็นท้าทาย ทำอย่างไร กศน. ถึงจะสามารถนำเอาปัญหาชาติ สภาพจังหวัด มาเป็นกรอบแนวทางการจัด กศน. ให้กับประชาชน บนพื้นฐานของความพึงพอใจ การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชน เครือข่าย ที่สอดคล้องกับวิถีชิวิต วิถีชุมชนของคนลำพูน ได้อย่างผสมกลมกลืน โดยมีบุคลากรของ กสน. เป็นผู้จัดการศึกษา กศน. ได้

  22. สิ่งที่ กศน. จังหวัดลำพูน กำลังจะทำ และทำอย่างต่อเนื่อง ในปี 2553 จัดการศึกษา กศน. ให้กับคนทุกคนกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ นอกโรงเรียน ให้ได้รับการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ในรูปแบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต และสภาพของชุมชน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของเครือข่าย ชุมชน และผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยมี ครู กศน. เป็นผู้ดำเนินการประสานงาน ร่วมคิดร่วมทำให้เกิดการเรียนรู้

  23. รูปแบบการบริหารการจัด กศน. จังหวัดลำพูน • มี กศน.อำเภอเป็นสถานศึกษาทุกอำเภอ • มีศูนย์การเรียนครบทุกตำบล • จัดครู กศน. ประจำทุกตำบล เป็นผู้จัดการศึกษาตำบล(Education Manager) ครูอาสา และ ครู ศรช. • สนับสนุนให้มี อาสาสมัคร กศน.หมู่บ้าน • เน้นการให้เครือข่ายจัดการศึกษา และสนับสนุนการเรียนรู้ชุมชน • หน่วยงาน กศน. เป็นผู้ประเมิน และเทียบวัด ออกหลักฐานทางการศึกษา

  24. Basic Education Literacy Education Continuing Education การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life-Long Learning)

  25. โครงการหมู่บ้านฐานความรู้โครงการหมู่บ้านฐานความรู้ ดำเนินการ ปี 2553 และขยายให้ครบทุกตำบล มีครู ศรช. และครู อาสาฯ รับผิดชอบคนละ 1 ตำบล และมีหมู่บ้านเข้มเพื่อดำเนินการหมู่บ้านฐานความรู้ ตำบลละ 1 บ้าน

  26. Road map การจัดการศึกษาในชุมชน แผนชุมชนเกรด A L&C Base/กศน.1 เก็บข้อมูล เวทีชาวบ้าน ลงพื้นที่/ทำความรู้จัก ปัญหา/ความต้องการ แผนการเรียนรู้ รายคน /รายกลุ่ม ตนเอง ครู เครือข่าย จัดกิจกรรการเรียนรู้ ครูอาสาสมัคร กิจกรรม กศน. ส่งเสริมการรู้หนังสือ , กศ.พื้นฐาน , ทักษะชีวิต , หลักสูตรระยะสั้น , พัฒนาอาชีพ , อัธยาศัย Basic Ed. Literacy Ed. กลุ่มกิจกรรมในชุมชน Continue Ed. ประเมิน / ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร การเรียนรู้ต่อเนื่อง บูรณาการ ได้รับ กศ. / คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น / ชุมชนพัฒนา เที่ยบโอน / สะสม / เครื่องมือ

  27. แนวคิดหลักหมู่บ้านฐานความรู้แนวคิดหลักหมู่บ้านฐานความรู้ • เชื่อว่าทุกคนไม่ใช่นับศูนย์ แต่มีองค์ความรู้เดิมในตัวเอง เป็นความรู้ที่มีคุณค่า • ยอมรับความรู้ในตัวบุคคล และให้เขาเกิดการพัฒนาเรียนรู้ต่อยอดความรู้เดิมเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต(Life-long Learning) • ขยายผลองค์ความรู้ที่ได้รับการพัฒนานำไปถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้กับบุคลอื่นและการเรียนรู้ที่เป็นเฉพาะตัว • กระตุ้นให้เกิดการไผ่รู้ และหาช่องทางการเรียนรู้ทั้งตนเอง ชุมชน ภูมิปัญญา หรือแหล่งเรียนรู้ภายนอก • กศน. วางระบบการเก็บสะสมองค์ความรู้และเทียบวัดเข้าสู่หลักสูตร ตลอดจนหาวิธีการการเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งหลักสูตรและรูปแบบ

  28. เป้าหมายผู้เรียนหมู่บ้านฐานความรู้เป้าหมายผู้เรียนหมู่บ้านฐานความรู้ คนทุกคนในชุมชนได้รับการเรียนรู้ตามศักยภาพ เงื่อนไข ความพร้อม และวิธีการ เพื่อทำให้ประชาชนได้รับการศึกษาที่สูงขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดี

  29. ภารกิจของ ครู กศน. และสถานศึกษา กระตุ้นให้ประชาชนเกิดการไฝ่รู้ มีกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายในหมู่บ้าน ดึงเอากิจกรรมการเรียนรู้ในชุมชนที่รับผิดชอบเข้าซองกิจกรรม กศน. โดยไม่ต้องให้ผู้เรียนต้องวิตกพะวง มีรูปแบบการจัดกิจกรรมที่หลากหลายไม่เหมือนกัน ตามแต่ละท้องที่

  30. ภารกิจของ สำนักงาน กศน.จังหวัด • จัดสรร งปม. เป็นรายหมู่บ้าน(ให้ชาวบ้าน คิดกิจกรรมเอง กศน.อำเภอ อนุมัติโครงการ/กิจกรรมหมู่บ้าน • จัดทำคู่มือครู / หลักสูตรที่จำเป็นต่อท้องถิ่น /รูปแบบกิจกรรม • แต่ตั้งครู กศน. ประจำตำบล • ทำเกณฑ์การเทียบวัด / เทียบโอน / ประเมินค่าความรู้ • งบประมาณดำเนินการเฉลี่ยจัดตามเป้าหมาย รวมถึงการพัฒนาองค์ประกอบในการพัฒนาการศึกษา

  31. ภาพลักษณ์องค์กร เป็นองค์กรที่มีคุณภาพ เข้าถึงและบริการกลุ่มเป้าหมายทุกคน ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี เป็นนักการศึกษา กศน. อย่างมืออาชีพ และใช้ยุทธศาสตร์ที่หลากหลาย รวมทั้งเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ

  32. ยึดหลักการ จัดการศึกษาเพื่อปวงชน และให้ปวงชนมาร่วมกันจัดการศึกษา ( Education for all and All for Education)

More Related