1 / 29

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

พลังงานหมุนเวียน และ ทางเลือกในองค์ประกอบพลังงานของไทย ดร. ชโลทร แก่นสันติสุขมงคล สัมมนาวิชาการประจำปี 2551 ครั้งที่ 31 คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551. วัตถุประสงค์ของการศึกษา.

Download Presentation

วัตถุประสงค์ของการศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พลังงานหมุนเวียน และทางเลือกในองค์ประกอบพลังงานของไทยดร. ชโลทร แก่นสันติสุขมงคลสัมมนาวิชาการประจำปี 2551 ครั้งที่ 31คณะเศรษฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

  2. วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการคาดการณ์แนวโน้ม/การกำหนดเป้าหมายการใช้พลังงานในอนาคตของหน่วยงานด้านพลังงานของประเทศไทย กับ ลักษณะการคาดการณ์แนวโน้มพลังงานระยะยาวของหน่วยงานด้านพลังงานในระดับนานาชาติ • เพื่อสะท้อนความสำคัญของการวิเคราะห์ Scenario Analysis • เพื่อสะท้อนความสำคัญของ “ปัจจัยเสี่ยง” เรื่องความจำเป็นในการปรับตัวของภาคพลังงานต่อปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

  3. การคาดการณ์หรือการกำหนดเป้าหมายการใช้พลังงานของประเทศไทยการคาดการณ์หรือการกำหนดเป้าหมายการใช้พลังงานของประเทศไทย • ไม่พบการคาดการณ์/เป้าหมายการใช้พลังงานในระยะยาว • มีการคาดการณ์/เป้าหมายการใช้พลังงานในระยะสั้น-ปานกลาง อย่างน้อย 3 กรณี • แผนอนุรักษ์พลังงาน ช่วงปี พ.ศ. 2551-2554 • แผนพลังงานทดแทน 15 ปี(อยู่ระหว่างดำเนินการ) • แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2550-2564 (PDP-2007)

  4. ตารางปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟ้าตามเชื้อเพลิงในปี 2006 กับ 2021 ตามแผน PDP-2007

  5. เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2006 = 136,766 GWh 2021 (PDP) = 297,073 GWh

  6. การคาดการณ์แนวโน้มพลังงานระยะยาวในระดับนานาชาติการคาดการณ์แนวโน้มพลังงานระยะยาวในระดับนานาชาติ • มีการศึกษาคาดการณ์แนวโน้มพลังงานของโลก ที่จัดทำโดยหน่วยงานด้านพลังงานระหว่างประเทศต่างๆ จำนวนพอสมควร • World Energy Technology Outlook (WETO-H2) โดย European Commission • World Energy Outlook 2007 โดย International Energy Agency • Energy Technology Perspectives 2008 โดย International Energy Agency • Deciding the Future: Energy Policy Scenarios to 2050 โดย World Energy Council • Annual Energy Outlook 2008 โดย US-Energy Information Administration • The Full Portfolio โดย Electric Power Research Institute • etc.

  7. ปัจจัยเสี่ยง: ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เป็นวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่สุดของโลกในศตวรรษนี้ • จะเป็นปัจจัยที่มีผลกระทบอย่างรุนแรงที่สุดต่อทิศทางการพัฒนาภาคพลังงานของโลกในระยะปานกลางและระยะยาว • รายงานของ AWG-KP ในการประชุม UNFCCC ที่บาหลี (ธ.ค. 2007) • การปล่อย GHGs ของโลกจะต้องเริ่มลดลงภายใน 10-15 ปี • และลดลงต่ำกว่ากึ่งหนึ่งของระดับในปี 2000 อย่างมาก ภายในกลางศตวรรษ • ภาคี Annex I ต้องลดการปล่อยลง 25-40% จากระดับปี 1990 ภายในปี 2020

  8. การคาดการณ์แนวโน้มพลังงานระยะยาวในระดับนานาชาติการคาดการณ์แนวโน้มพลังงานระยะยาวในระดับนานาชาติ • มีการศึกษาคาดการณ์แนวโน้มพลังงานของโลก ที่จัดทำโดยหน่วยงานด้านพลังงานระหว่างประเทศต่างๆ จำนวนพอสมควร • World Energy Technology Outlook (WETO-H2) โดย European Commission • World Energy Outlook 2007 โดย International Energy Agency • Energy Technology Perspectives 2008 โดย International Energy Agency • Deciding the Future: Energy Policy Scenarios to 2050 โดย World Energy Council • Annual Energy Outlook 2008 โดย US-Energy Information Administration • The Full Portfolio โดย Electric Power Research Institute • etc.

  9. World Energy Technology Outlook (WETO-H2) • เป็นผลการศึกษาร่วมกันของสถาบันวิจัยด้านพลังงานในยุโรป 6 แห่ง ภายใต้การสนับสนุนของ European Commission • พิจารณา 3 Scenarios • Reference Case: แนวโน้มทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเป็นไปในลักษณะปัจจุบัน (มีการจัดการปัญหา Climate Change ในระดับหนึ่ง) • Carbon Constraint Case: ประเทศต่างๆ ร่วมมือรักษาระดับความเข้มข้นของก๊าซ CO2 ในชั้นบรรยากาศที่ระดับ 500 ppm • Hydrogen Economy Case: เริ่มมีการนำเทคโนโลยีไฮโดรเจนมาใช้ในปี 2030 และขยายตัวมากขึ้น

  10. Scenarios การผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2021 • ใช้แผน PDP-2007 (2006-2021) เป็นกรณีฐาน โดยเปรียบเทียบกับ WETO-H2 (2005-2020) • กรณี A: ขยายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้เป็น 5% ของการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2021 - A1: ปรับลดการใช้พลังงานนิวเคลียร์ - A2: ปรับลดการใช้ถ่านหิน • กรณี B: ขยายเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานหมุนเวียนให้เท่ากับ 50-75% ของศักยภาพเต็ม ในปี 2016 - B1: 50% ศักยภาพ + no nuclear - B2: 50% ศักยภาพ + no new coal - B3: 75% ศักยภาพ + no nuclear + no new coal • กรณี C: พิจารณาขีดจำกัดการจัดการสภาพภูมิอากาศ - No new coal + No lignite + Reduce NG

  11. กรณี A: เปรียบเทียบสัดส่วนพลังงานหมุนเวียน

  12. กรณี A: เปรียบเทียบสัดส่วนพลังงานหมุนเวียน 5%

  13. Scenarios การผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2021 • ใช้แผน PDP-2007 (2006-2021) เป็นกรณีฐาน โดยเปรียบเทียบกับ WETO-H2 (2005-2020) • กรณี A: ขยายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้เป็น 5% ของการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2021 - A1: ปรับลดการใช้พลังงานนิวเคลียร์ - A2: ปรับลดการใช้ถ่านหิน • กรณี B: ขยายเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานหมุนเวียนให้เท่ากับ 50-75% ของศักยภาพเต็ม ในปี 2016 - B1: 50% ศักยภาพ + no nuclear - B2: 50% ศักยภาพ + no new coal - B3: 75% ศักยภาพ + no nuclear + no new coal • กรณี C: พิจารณาขีดจำกัดการจัดการสภาพภูมิอากาศ - No new coal + No lignite + Reduce NG

  14. เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021(PDP) = 297,073 GWh 2021(A1) = 297,073 GWh

  15. เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021(A2) =297,073 GWh 2021(PDP) = 297,073 GWh

  16. กรณี B: ศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน Source: Du Pont (2005), สกว.(2007)

  17. กรณี B: ศักยภาพการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน Source: กระทรวงพลังงาน(2008), Du Pont (2005), สกว.(2007)

  18. กรณี B: ศักยภาพการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน Source: สกว. (2007)

  19. Scenarios การผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2021 • ใช้แผน PDP-2007 (2006-2021) เป็นกรณีฐาน โดยเปรียบเทียบกับ WETO-H2 (2005-2020) • กรณี A: ขยายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้เป็น 5% ของการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2021 - A1: ปรับลดการใช้พลังงานนิวเคลียร์ - A2: ปรับลดการใช้ถ่านหิน • กรณี B: ขยายเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานหมุนเวียนให้เท่ากับ 50-75% ของศักยภาพเต็ม ในปี 2016 - B1: 50% ศักยภาพ + no nuclear - B2: 50% ศักยภาพ + no new coal - B3: 75% ศักยภาพ + no nuclear + no new coal • กรณี C: พิจารณาขีดจำกัดการจัดการสภาพภูมิอากาศ - No new coal + No lignite + Reduce NG

  20. เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021 (B1) = 281,263 GWh 2021(PDP) = 297,073 GWh

  21. เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021 (B2) = 281,263 GWh 2021(PDP) = 297,073 GWh

  22. เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021(PDP) = 297,073 GWh 2021 (B3) = 273,358 GWh

  23. กรณี C: ขีดจำกัดการจัดการสภาพภูมิอากาศ 30% • ทางเลือกในการบรรลุเป้าหมาย 30% • No electricity from coal & lignite --> 49937 GWh --> 70% ศักยภาพ • No new coal + No lignite + Reduce NG --> 59001 GWh --> 83% ศักยภาพ

  24. Scenarios การผลิตพลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2021 • ใช้แผน PDP-2007 (2006-2021) เป็นกรณีฐาน โดยเปรียบเทียบกับ WETO-H2 (2005-2020) • กรณี A: ขยายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนให้เป็น 5% ของการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2021 - A1: ปรับลดการใช้พลังงานนิวเคลียร์ - A2: ปรับลดการใช้ถ่านหิน • กรณี B: ขยายเป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานหมุนเวียนให้เท่ากับ 50-75% ของศักยภาพเต็ม ในปี 2016 - B1: 50% ศักยภาพ + no nuclear - B2: 50% ศักยภาพ + no new coal - B3: 75% ศักยภาพ + no nuclear + no new coal • กรณี C: พิจารณาขีดจำกัดการจัดการสภาพภูมิอากาศ - No new coal + No lignite + Reduce NG

  25. เปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าเปรียบเทียบสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้า 2021(PDP) = 297,073 GWh 2021 (C) = 269,122 GWh

  26. ปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2021

  27. ร้อยละการผลิตพลังงานไฟฟ้าในปี 2021

  28. บทสรุป • การวิเคราะห์ Scenario Analysis จะช่วยให้เราเห็นภาพอนาคตที่หลากหลาย และสามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้ดีขึ้น • Climate Change เป็น “ปัจจัยเสี่ยง” ที่สำคัญในการกำหนดอนาคตพลังงานโลก • ผลการวิเคราะห์ Scenario Analysis ของภาคการผลิตไฟฟ้าชี้ว่า ประเทศไทยมีศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนและการอนุรักษ์พลังงานในปัจจุบันที่มากเพียงพอที่เราจะเลือก - ไม่พึ่งพิงการใช้นิวเคลียร์ หรือ - ไม่เพิ่มการพึ่งพาถ่านหิน หรือ - จัดการปัญหา Climate Change ในระดับหนึ่ง • ทางเลือกเหล่านี้อาจมีต้นทุนการเงินที่สูงกว่า แต่ก็ช่วยลดต้นทุนสิ่งแวดล้อม ต้นทุนสังคม และ ความเสี่ยงของธุรกิจพลังงานลง

  29. ขอขอบคุณ • สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ • อ.ปกป้อง อ.อภิชาติ และ คณะทำงานสัมมนา คณะเศรษฐศาสตร์ • คณาจารย์ และ เจ้าหน้าที่ คณะเศรษฐศาสตร์ทุกท่าน • ทีมงานสำนักพิมพ์ openbooks • คุณฐาปนพงษ์ ชื่นมะนา และ คุณตฤณ ไอยะรา ผู้ช่วยวิจัย • อ.บัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย และ ผู้ร่วมงานสัมมนาทุกท่าน

More Related