1 / 43

การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (PRIVATIZATION)

การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (PRIVATIZATION). เค้าโครง. ความหมายของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ แผนแม่บท การปรับโครงสร้างตลาด การปรับรัฐวิสาหกิจให้เป็นหน่วยธุรกิจ วิธีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ. ความหมายของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ.

sohalia
Download Presentation

การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (PRIVATIZATION)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ(PRIVATIZATION)การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ(PRIVATIZATION)

  2. เค้าโครง • ความหมายของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • แผนแม่บท • การปรับโครงสร้างตลาด • การปรับรัฐวิสาหกิจให้เป็นหน่วยธุรกิจ • วิธีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

  3. ความหมายของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจความหมายของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ การแปรรูป (ปฏิรูป) รัฐวิสาหกิจ เรียกได้หลายชื่อ: Privatization Capitalization Peopleization Equitization Commercialization

  4. วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ หลากหลายและอาจขัดแย้งกันได้ แบ่งได้เป็น 5 กลุ่ม

  5. วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กลุ่ม 1 : ประสิทธิภาพและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ • ส่งเสริมประสิทธิภาพรวม • ส่งเสริมเอกชน กลไกตลาด การแข่งขัน • พัฒนาตลาดหลักทรัพย์ • ส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ • เปิดตลาดต่างประเทศ

  6. วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กลุ่ม 2 : ประสิทธิภาพและการพัฒนา • ในระดับวิสาหกิจ • ส่งเสริมประสิทธิภาพของวิสาหกิจ • ส่งเสริมเทคโนโลยีทันสมัย • ปรับปรุงเครื่องจักร อุปกรณ์ • เพิ่ม capacity utilization • ของหน่วยผลิต

  7. วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กลุ่ม 3 : ปรับปรุงด้านงบประมาณและการเงินภาครัฐ • ลดการขาดดุลงบประมาณ ลดหนี้สาธารณะ • ลดการอุดหนุนรัฐวิสาหกิจ • เพิ่มแหล่งเงินทุนจากเอกชน • สร้างแหล่งรายได้ภาษี

  8. วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กลุ่ม 4 : การกระจายผลประโยชน์ • กระจายความเป็นเจ้าของสู่ประชาชน • พัฒนากลุ่มชนชั้นกลาง • ให้พนักงาน/ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจ • มีส่วนเป็นเจ้าของ

  9. วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ • กลุ่ม 5 : การเมือง • ลดขนาดและขอบเขตของภาครัฐในด้าน • เศรษฐกิจ (ระบบตลาด) • ลดโอกาสฉ้อโกงในภาครัฐ • ลดอำนาจครอบงำของสหภาพแรงงาน

  10. วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ มักตอบสนองต่อปัญหาเฉพาะหน้า: วิกฤตการเงินของภาครัฐ รัฐวิสาหกิจไร้ประสิทธิภาพ

  11. วัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจวัตถุประสงค์ของการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ วัตถุประสงค์สำคัญ คือประสิทธิภาพ ไม่ใช่เพียงเปลี่ยนเจ้าของ แต่สำคัญที่ การส่งเสริมการแข่งขัน

  12. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ 4 ขั้นตอน • แผนแม่บท (Master Plan) • การปรับโครงสร้างตลาด • การปรับรัฐวิสาหกิจให้เป็นหน่วยธุรกิจ • วิธีการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

  13. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: แผนแม่บท • “พิมพ์เขียว” สำหรับการปฏิบัติ • กำหนด/จัดลำดับวัตถุประสงค์ • กำหนดขอบเขต จะแปรรูปสาขาใด รัฐวิสาหกิจใด • กำหนดแนวทาง/วิธีการ • ส่วนใหญ่มีการปรับโครงสร้างก่อน

  14. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: แผนแม่บท • กำหนดขั้นตอน ตารางเวลา • ระบุกฎหมายและโครงสร้างองค์กร ที่ต้องปรับปรุง • แนวทางป้องกันแก้ไขปัญหาพนักงานรัฐวิสาหกิจ • แนวทางการ “ประชาสัมพันธ์”

  15. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: แผนแม่บท • หลักการของแผนแม่บทไทย: • ส่วนหนึ่งของแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังวิกฤต

  16. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: แผนแม่บท • แยกงานเป็น 3 ส่วน • นโยบายและแผน (policy and planning) โดยรัฐบาล • การกำกับดูแล (regulation) โดยองค์กรกำกับอิสระ • การให้บริการ (service provision) โดยเอกชนและรัฐวิสาหกิจ

  17. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: แผนแม่บท • กิจการใดควรแปรรูป? • สินค้า/บริการที่เอกชนผลิตได้อยู่แล้ว • สาธารณูปโภคที่มีผู้ผลิตได้หลายราย • สาธารณูปโภคที่ “ผูกขาดโดยธรรมชาติ” (กรณีก้ำกึ่ง) • บริการเชิงสังคม ไม่ใช่เชิงพาณิชย์ (แปรรูปไม่ได้)

  18. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • กิจการสาธารณูปโภคมักมีรัฐวิสาหกิจ เป็นผู้ผูกขาด (ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ท่าเรือ) • ปรับเพื่อเพิ่มการแข่งขัน และมีการกำกับดูแล ผู้ผูกขาด

  19. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • กิจการสาธารณูปโภคผูกขาดต้องปรับโดย “การแยกส่วน” (unbundling) และคำนึงถึง ประโยชน์/ต้นทุนของการกำจัดการผูกขาด

  20. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • แยกแบบแนวตั้ง:upstream/ downstream เช่น generationtransmission distributionในไฟฟ้า • แยกแบบแนวนอน: แยกกิจการผูกขาดตามพื้นที่

  21. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • แยกระหว่าง โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ (physical infrastructure) และการให้บริการ

  22. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ: • แข่งขันได้ เช่น โรงไฟฟ้า โรงพักสินค้า ท่าเทียบเรือ เครือข่ายโทรศัพท์ทางไกล • ต้องผูกขาด เช่น ระบบสายส่ง/จำหน่ายไฟฟ้า ถนน รางรถไฟ โทรศัพท์พื้นฐาน ท่าเรือ ร่องน้ำ ท่าอากาศยาน

  23. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • การให้บริการ: • แข่งขันได้ เช่น โทรศัพท์ การขนส่ง การขนยกสินค้า การขายปลีกไฟ/น้ำ • ต้องผูกขาด เช่น การขุดลอกร่องน้ำ การจัดระเบียบจราจร

  24. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: ปรับโครงสร้างตลาด • ตัวอย่างข้อเสนอการแยกส่วนกิจการไฟฟ้าไทย: • ปัจจุบันผูกขาดโดย กฟผ. กฟน. กฟภ. • แยกส่วนโดยให้ผลิตไฟโดยเอกชนแข่งกัน ขายเข้าตลาดกลาง ผ่านระบบสายส่ง/สาย จำหน่ายซึ่งผูกขาดโดยรัฐวิสาหกิจ และแข่งกันขายปลีก

  25. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ:Corporatizationกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ:Corporatization • ปรับสภาพรัฐวิสาหกิจให้เป็นหน่วยธุรกิจ (corporatization) • จากองค์กรรัฐ สู่องค์กรบริษัท (พรบ. ทุนรัฐวิสาหกิจ) • เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ และพร้อมที่จะขายให้เอกชน

  26. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ:Corporatizationกระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ:Corporatization • การใช้กฎหมายต่าง ๆ ในต่างประเทศ • นิวซีแลนด์เป็นแม่แบบที่สำเร็จ • Corporatization เพียงพอแล้ว? ไม่ต้องแปรรูป (privatize) แล้ว?

  27. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การเพิ่มบทบาทเอกชน (Privatization) 2 แนวทาง: • ขายหุ้นให้เอกชน • ให้สัมปทานแก่เอกชน (ช่วงเวลาหนึ่ง)

  28. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การขายหุ้น มีหลายวิธี/มิติ • ขายให้ใคร อย่างไร: • ประชาชน IPO และ voucher • นักลงทุนสถาบัน • พนักงาน/ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจ • พันธมิตรร่วมทุน (strategicpartners)

  29. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การขายหุ้น มีหลายวิธี/มิติ • ข้อจำกัดในการขายหุ้นให้ต่างชาติ • “หุ้นทอง”(golden shares)ถือโดยรัฐบาล • ก่อนขาย ต้องมีการประเมินมูลค่าทรัพย์สิน • บางกรณี ต้องมีการจัดองค์กรใหม่ • ระดับการพัฒนาของตลาดหลักทรัพย์ และวิธีการขายหุ้น

  30. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (สิทธิชั่วคราวหรือ concession) ใช้กับ natural monopoly

  31. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน มีหลายแบบ: จากเอกชนมีบทบาทน้อย ไปถึงมาก • Service/Management Contracts • Leases

  32. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • ระยะเวลายาว 20 - 30 ปี • เอกชนลงทุน บริหาร และดำเนินงานเอง • มีสิทธิแต่ผู้เดียวในช่วงสัมปทาน

  33. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions): • จ่ายค่าสัมปทานให้ภาครัฐ • เอกชนรับความเสี่ยงด้านตลาด แต่รัฐอาจประกันตลาดในบางกรณี

  34. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • มี 3 รูปแบบ: 1) BTO โอนให้รัฐเมื่อสร้างเสร็จ ทางด่วนขั้น 2 ดอนเมืองโทลเวย์ โทรศัพท์

  35. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • มี 3 รูปแบบ: 2) BOT โอนให้รัฐเมื่อสิ้นสุดสัมปทาน รถไฟฟ้า BTS ท่าเรือแหลมฉบัง ประปาปทุม-รังสิต

  36. กระบวนการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: Privatization • การให้สัมปทาน (Concessions) : • มี 3 รูปแบบ: 3) BOO ไม่ต้องโอนให้รัฐ ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ (IPP)

  37. อุปสรรคในการปรับปรุง/แปรรูปรัฐวิสาหกิจไทยอุปสรรคในการปรับปรุง/แปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย • ขาดความมุ่งมั่นทางการเมือง (political will) และความต่อเนื่อง • ขาดการสร้างความเข้าใจและการยอมรับในหมู่สาธารณชน

  38. อุปสรรคในการปรับปรุง/แปรรูปรัฐวิสาหกิจไทยอุปสรรคในการปรับปรุง/แปรรูปรัฐวิสาหกิจไทย • การทุจริต คอรัปชั่น ไม่โปร่งใส • การต่อต้านโดยพนักงานรัฐวิสาหกิจ • บทบาทและอิทธิพลของทุนต่างชาติ

  39. เอกสารเพิ่มเติม: “The Privatization Challenge: A Strategic, Legal, and Institutional Analysis of International Experience” by Pierre Guislain, The World Bank, 1997

  40. เอกสารเพิ่มเติม: “การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ” ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2542

  41. เอกสารเพิ่มเติม: “สาระน่ารู้: การปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ” สำนักรัฐวิสาหกิจและหลักทรัพย์ของรัฐ กระทรวงการคลัง และ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2543

  42. เอกสารเพิ่มเติม: “สัมปทานในกิจการสาธารณูปโภค” พรายพล คุ้มทรัพย์ และ สมัย โกรธินทาคม 2544

  43. เอกสารเพิ่มเติม: “State Enterprises and Privatization in Thailand: Problems, Progress and Prospects” by Praipol Koomsup October 2002

More Related