1 / 24

การตรวจสอบคุณสมบัติทางด้านแหล่งกำเนิดสินค้าที่จะขอรับ สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร

การตรวจสอบคุณสมบัติทางด้านแหล่งกำเนิดสินค้าที่จะขอรับ สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร. โดย นายชาย สังขะเวส สำนักป้องกันการแอบอ้างสิทธิ กรมการค้าต่างประเทศ. ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร. GSP (Generalized System of Preference) CEPT (Common Effective Preferential Tariff Scheme)

sol
Download Presentation

การตรวจสอบคุณสมบัติทางด้านแหล่งกำเนิดสินค้าที่จะขอรับ สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจสอบคุณสมบัติทางด้านแหล่งกำเนิดสินค้าที่จะขอรับการตรวจสอบคุณสมบัติทางด้านแหล่งกำเนิดสินค้าที่จะขอรับ สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร โดย นายชาย สังขะเวส สำนักป้องกันการแอบอ้างสิทธิ กรมการค้าต่างประเทศ

  2. ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร GSP (Generalized System of Preference) CEPT (Common Effective Preferential Tariff Scheme) GSTP (Global System of Trade Preference Among Developing Countries) Free Trade Agreements (FTAs)

  3. GSP Generalized System of Preference ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป ที่ประเทศพัฒนาแล้ว ให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรแก่สินค้าที่มีแหล่งกำเนิดจากประเทศกำลังพัฒนา โดยลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีศุลกากรให้แก่สินค้าที่อยู่ในข่ายได้รับสิทธิฯ ทั้งนี้ ประเทศผู้ให้สิทธิฯจะเป็นผู้ให้ฝ่ายเดียวโดยไม่หวังผลตอบแทน

  4. ประเทศที่ให้สิทธิพิเศษ GSP ปัจจุบัน มี 34 ประเทศ แบ่งได้เป็น 10 ระบบ คือ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป 25 ประเทศ นอรเวย์ สวิตเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น แคนาดา บัลแกเรีย รัสเซีย ตุรกี นิวซีแลนด์

  5. CEPTCommon Effective Preferential Tariff ข้อตกลงว่าด้วยอัตราภาษีศุลกากรพิเศษที่เท่ากันภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน โดยมีเป้าหมายเพื่อลดอัตราภาษีนำเข้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ให้เหลือ 0-5 % ภายในระยะเวลา 10 ปี (2536-2546)

  6. ประเทศสมาชิก ASEAN อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ บรูไน เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา ไทย

  7. GSTPThe Global System of Trade Preferences Among Developing Countries ระบบสิทธิพิเศษทางการค้าระหว่างประเทศที่กำลังพัฒนา ที่ตกลงจะลดหย่อนภาษีแก่สินค้าบางรายการระหว่างกัน

  8. ประเทศสมาชิก GSTP แอลจีเรีย บังคลาเทศ โบลีเวีย คาเมรูน คิวบา เอกวาดอร์ กานา กายานา อินโดนีเซีย อิรัก มาเลเซีย โมซัมบิก ไนจีเรีย อาร์เจนตินา เบนิน บราซิล ชิลี เกาหลีใต้ เกาหลีเหนือ อียิปต์ กินี อินเดีย อิหร่าน ลิเบีย เม็กซิโก นิการากัว ปากีสถาน เปรู สิงคโปร์ ซูดาน แทนซาเนีย ยูโกสลาเวีย อังโกลา ไฮติ กาตาร์ เวเนซูเอลา ฟิลิปปินส์ โรมาเนีย ศรีลังกา ตรินิแดด และโตเบโก ไทย ตูนีเซีย เวียดนาม ซิมบับเว โคลัมเบีย โมร๊อกโก อุรุกวัย ซาอีร์ (48 ประเทศ)

  9. FTAs ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรที่ไทยตกลงกับประเทศคู่ค้าที่มีศักยภาพในการ ขยายตลาดส่งออกเพื่อลดหย่อนภาษีขาเข้า ระหว่างกันสำหรับสินค้าบางรายการ

  10. FTAs ของไทยในปัจจุบัน 1. อินเดีย เริ่มตั้งแต่ 1 กันยายน 2547 2. ออสเตรเลีย เริ่มตั้งแต่ 1 มกราคม 2548 3. อาเซียน - จีน อนาคต USA / นิวซีแลนด์ / บาห์เรน / ญี่ปุ่น / เปรู / อาเซียน – BIMSTEC / อาเซียน - อินเดีย

  11. ระบบสิทธิพิเศษทางการค้าระบบสิทธิพิเศษทางการค้า - ระบบ GSP (Generalized System of Preference) - ระบบ CEPT (Common Effective Preferential Tariff) - ระบบ GSTP (The Global System of Trade Preferences) - ข้อตกลงการค้าเสรี (Free Trade Agreements) กฎแหล่งกำเนิดสินค้า 1. หลักเกณฑ์ว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) - สินค้าผลิตด้วยวัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด - สินค้าผลิตด้วยวัตถุดิบนำเข้าจากต่างประเทศ 2. เงื่อนไขการส่งมอบสินค้า 3. เอกสารที่ใช้เป็นหลักฐานออกโดยกรมการค้าต่างประเทศ - Form A - Form D - Form GSTP - Form FTA

  12. คุณสมบัติของสินค้า (Origin Criterion) • ผลิตจากวัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด (Wholly Obtained) - พืชผลที่เพาะปลูกในประเทศ - การประมงโดยเรือของประเทศ - แร่ธาตุที่ขุดได้ภายในประเทศ และจากน่านน้ำของประเทศส่งออก - สัตว์ที่เลี้ยงและเติบโตในประเทศ - เศษวัสดุเหลือใช้ภายในประเทศ - ผลผลิตปศุสัตว์ในประเทศ • ผลิตจากวัตถุดิบนำเข้าจากต่างประเทศ ต้องได้รับการ แปรสภาพอย่างเพียงพอ (Substantial Transformation) 1. พิจารณาจากพิกัดศุลกากร 2. พิจารณาจากสัดส่วนการใช้ / ราคาสินค้า

  13. หลักเกณฑ์การผลิตถูกต้องตามกฎแหล่งกำเนิดสินค้าหลักเกณฑ์การผลิตถูกต้องตามกฎแหล่งกำเนิดสินค้า • ระบบ ประเทศ หลักเกณฑ์ / เงื่อนไข • GSP European Union มูลค่าวัตถุดิบนำเข้าไม่เกิน 40% • (Form A Certificate) Switzerland/Norway/ ของ Ex- factory price • ตุรกี • Japan มูลค่าวัตถุดิบนำเข้าไม่เกิน 50% • ของ FOB price • U.S.A. มูลค่าของวัตถุดิบภายในประเทศ + ต้นทุนการผลิตทางตรงไม่น้อยกว่า 35% ของ Ex- factory price • Canada มูลค่าวัตถุดิบนำเข้าไม่เกิน 40% • ของ Ex- factory price

  14. หลักเกณฑ์การผลิตถูกต้องตามกฎแหล่งกำเนิดสินค้าหลักเกณฑ์การผลิตถูกต้องตามกฎแหล่งกำเนิดสินค้า ระบบ ประเทศ หลักเกณฑ์ / เงื่อนไข GSP Russian Federation/ มูลค่าวัตถุดิบนำเข้าไม่เกิน 50 % (Form A Certificate) Bulgaria ของ Ex-factory price CEPT ASEAN countries มูลค่าวัตถุดิบและต้นทุนการผลิต (Form D Certificate) ในประเทศ ASEAN ไม่น้อยกว่า 40% ของ FOB price GSTP ประเทศสมาชิก มูลค่าวัตถุดิบนำเข้าไม่เกิน 50 % (Form GSTP) GSTP ของ FOB price

  15. หลักเกณฑ์การผลิตถูกต้องตามกฎแหล่งกำเนิดสินค้าหลักเกณฑ์การผลิตถูกต้องตามกฎแหล่งกำเนิดสินค้า ระบบ หลักเกณฑ์ / เงื่อนไข FTA Thailand - India มูลค่าต้นทุนในประเทศไม่น้อยกว่า 20 % หรือ 40 % ของ FOB price และ/หรือ มีการ เปลี่ยนแปลงพิกัดวัตถุดิบนำเข้า FTA Thailand – Australia มูลค่าต้นทุนในประเทศไม่น้อยกว่า 40 หรือ 55% ของ FOB Price และ/หรือ มีการเปลี่ยนแปลง พิกัดวัตถุดิบนำเข้า

  16. ระบบสิทธิพิเศษทางการค้าระบบสิทธิพิเศษทางการค้า เพื่อลดหย่อน หรือยกเว้น อากรขาเข้า ระบบสิทธิพิเศษเป็นการทั่วไป - ระบบ GSP - ระบบ CEPT - ระบบ GSTP ภายใต้ข้อตกลงการค้าเสรี (Free Trade Agreements) - ไทย-อินเดีย (1 ก.ย.47) - ไทย-ออสเตรเลีย (1 ม.ค.48) - ไทย-สหรัฐอเมริกา - ไทย-นิวซีแลนด์ - อาเซียน-อินเดีย - ไทย-บาห์เรน - ไทย-เปรู - ไทย-ญี่ปุ่น - อาเซียน-จีน - อาเซียน-BIMSTEC หลักเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้า (ด้านการผลิต) : Rules of Origin (Origin Criteria) เพื่อขอรับหนังสือรับรองฯ Form FTAs เพื่อขอรับหนังสือรับรองฯ Form A / Form D / Form GSTP กระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติ กระบวนการตรวจสอบคุณสมบัติ - ทุกรายการสินค้า - ผู้ผลิต ชี้แจงข้อมูลการผลิต มีความถูกต้องตาม หลักเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้า และผูกพันกับภาครัฐ ทุกรายการสินค้า HS 84-97 ผู้ผลิต/ผู้ส่งออก พิสูจน์ความถูกต้องตามหลักเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้า โดยแสดงเอกสาร/หลักฐานการใช้วัตถุดิบ ผู้ขอรับหนังสือรับรองฯ ชี้แจงข้อมูลการผลิต มีความถูกต้องตามหลักเกณฑ์และผูกพันกับภาครัฐ ขั้นตอนการตรวจสอบย้อนหลัง (Post Administrative Control) - ตามคำขอให้ดำเนินการของศุลกากรประเทศผู้นำเข้า - กรณีมีข้อสงสัยว่าแสดงเอกสารเท็จ - กรณีมีข้อสงสัยเกี่ยวกับข้อมูลที่ผูกพันกับภาครัฐ - สุ่มตรวจสอบ (Random Check)

  17. โครงสร้างต้นทุนการผลิตสินค้า 1 หน่วย 1. ต้นทุนวัตถุดิบ ก) วัตถุดิบในประเทศ ข) วัตถุดิบนำเข้าจากต่างประเทศ หรือไม่ทราบแหล่งที่มา 2. ต้นทุนการผลิตอื่น ๆ (production cost) - ค่าโสหุ้ยโรงงาน, ค่าแบบพิมพ์, ค่าทดสอบ, ค่าแรงงาน, R & D, ค่าน้ำค่าไฟฟ้า, ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ฯลฯ 3. กำไรต่อหน่วย 4. ราคาสินค้าโรงงาน (= ต้นทุนวัตถุดิบ + ต้นทุนการผลิต + กำไร) 5. ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าเพื่อการส่งออก (จากโรงงานไปยังท่าเรือ/ ท่าอากาศยาน/ด่านชายแดน) 6. ราคาสินค้าสินค้า FOB (= ราคาสินค้าโรงงาน + คชจ. ในการขนส่ง) 7. การคำนวณอัตราส่วน

  18. ต้นทุนวัตถุดิบภายในประเทศต้นทุนวัตถุดิบภายในประเทศ ต้องเป็นวัตถุดิบที่ผลิตขึ้นภายในประเทศและถูกต้องตามหลักเกณฑ์แหล่งกำเนิดของประเทศผู้ให้สิทธิพิเศษ กรณีใช้ CUMULATION ต้องแสดงหลักฐานรับรองตามที่ประเทศผู้ให้สิทธิกำหนด เช่น สหภาพยุโรป = EUR1, อาเซียน = Form D, FTA ไทย-ออสเตรเลีย = Form FTA

  19. ต้นทุนวัตถุดิบนำเข้า • วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตที่ • นำเข้าจากต่างประเทศ ใช้ราคา C.I.F. ในการคำนวณต้นทุน • ซื้อจากผู้นำเข้า หรือ • ไม่ทราบแหล่งที่มา ใช้ราคาตาม Invoice ที่ซื้อขายจริง

  20. ต้นทุนการผลิตอื่นๆ ต้นทุนอื่นที่เกิดจากการผลิต ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น • ค่าจ้างในการบริหาร • เงินเดือนพนักงาน • ค่าใช้จ่ายในการอบรม พนักงาน • ค่าขนส่งวัตถุดิบ ฯลฯ • ค่าแรงในการผลิต • ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร • ค่าตรวจสอบ • ค่าออกแบบผลิตภัณฑ์

  21. ค่าขนส่ง ค่าขนส่งสินค้า 1 หน่วย จากโรงงานไปยังท่าเรือ หรือ ท่าอากาศยาน ที่จะส่งออก

  22. การขอรับ CERTIFICATE : Form FTA • พิกัดศุลกากรที่ 01-08 ขอ Form FTA ได้เลย • พิกัดศุลกากรที่ 09 ขึ้นไป ต้อง ขอรับการตรวจสอบ แหล่งกำเนิดสินค้าถูกต้องตามหลักเกณฑ์ ก่อน ขอ Form FTA การขอรับ Form A, Form D

  23. เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา 1. แบบคำขอให้ตรวจ/รับรองแหล่งกำเนิดสินค้า 2. คำรับรองและรายละเอียดต้นทุนการผลิตสินค้า 3. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล 4. สำเนาใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.20) 5. สำเนาใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน 6. หนังสือมอบอำนาจให้ยื่นและรับเอกสาร 7. สำเนาบัตรประจำตัวผู้ลงนามและผู้ยื่น-รับเอกสาร 8. หนังสือมอบอำนาจให้ลงนามแทน (ถ้ามี)

  24. จบแล้วครับ

More Related