1 / 25

จิตวิทยาการบริหารทีมงาน

จิตวิทยาการบริหารทีมงาน. รศ.ดร.ดาราวรรณ ต๊ะปินตา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. จิตวิทยาการบริหารทีมงาน. การรู้จักคนและพฤติกรรมของคน การรู้จักตน การรู้จักผู้อื่น การสื่อสาร การบริหารความขัดแย้ง. 1. การรู้จักคนและพฤติกรรมของคน. ความคิด อารมณ์

sophia-roy
Download Presentation

จิตวิทยาการบริหารทีมงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จิตวิทยาการบริหารทีมงานจิตวิทยาการบริหารทีมงาน รศ.ดร.ดาราวรรณ ต๊ะปินตา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  2. จิตวิทยาการบริหารทีมงานจิตวิทยาการบริหารทีมงาน • การรู้จักคนและพฤติกรรมของคน • การรู้จักตน • การรู้จักผู้อื่น • การสื่อสาร • การบริหารความขัดแย้ง

  3. 1. การรู้จักคนและพฤติกรรมของคน

  4. ความคิด อารมณ์ ความคิด สรีระ ความคิด พฤติกรรม

  5. อารมณ์ สรีระ อารมณ์ พฤติกรรม สรีระ พฤติกรรม

  6. รูปแบบความสัมพันธ์ของการคิด พฤติกรรม อารมณ์ และสรีระ สิ่งเร้า การคิด พฤติกรรม อารมณ์ สรีระ

  7. ทฤษฎีพฤติกรรมปัญญานิยมทฤษฎีพฤติกรรมปัญญานิยม สิ่งเร้า กระบวนการทางปัญญา พฤติกรรม+อารมณ์ ผลกรรม A B1 B2 C

  8. A = สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำ Sp = สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำที่เชื่อมโยงกับ C- Sd= สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำที่เชื่อมโยงกับ C+ S = สิ่งเร้าหรือเงื่อนไขนำที่ ไม่เชื่อมโยงกับ C ใดๆ

  9. B1 = กระบวนการทางปัญญา ทุกๆสิ่งที่เกิดขึ้นในกระบวนการคิด (ตัวอย่างเช่น การแปลความ ความคาดหวัง การคิด การให้คุณค่า ทัศนคติ ความเชื่อ การพูดกับตนเองในใจ ความคิดอัตโนมัติทางลบ การให้ความหมายต่อสิ่งใดๆก็ตาม) ฯลฯ

  10. B2 = พฤติกรรมและอารมณ์ ที่แสดงออกมาและสังเกตได้วัดได้ตรงกัน

  11. C = ผลการกระทำ C + = เกิดตามหลัง B แล้วทำให้ B เกิดขึ้นสม่ำเสมอหรือเกิดเพิ่มขึ้น C - = เกิดตามหลัง B แล้วทำให้ B ลดลงหรือหยุดไป C = การที่ B เกิดรุนแรงขึ้นเพราะ B ดังกล่าวเคยได้ C+ แต่ถูกตัด C+ดังกล่าวไป

  12. รูปแบบของการคิด(Cognitive Model) การเลี้ยงดูในวัยเด็กความเชื่อพื้นฐานที่อยู่ในระดับลึก ประสบการณ์ (Core belief) ที่ผ่านมา ความเชื่อที่อยู่ในระดับกลาง (Intermediate belief) สิ่งเร้า ความคิดอัตโนมัติ ผล (Automatic thoughts) 1. อารมณ์ 2. พฤติกรรม 3. สรีระ

  13. ความเชื่อพื้นฐานในระดับลึก(Core belief) • เป็นความเชื่อที่พัฒนามาตั้งแต่เด็กๆ เป็นความเชื่อเกี่ยวกับตนเองและผู้อื่น รวมถึงความเชื่อเกี่ยวโลกและชีวิต • เป็นความเชื่อเบื้องต้นของคน มักอยู่ลึกและคนส่วนใหญ่จะไม่ค่อยรับรู้ • มักจะแผ่ขยายไปยังเรื่องหลายๆเรื่อง • มักจะเป็นตัวยิงความคิดอัตโนมัติที่ซ้ำๆ ออกมาบ่อยๆ เมื่อมีเรื่องมากระตุ้น

  14. ความเชื่อที่อยู่ในระดับกลาง(Intermediate belief) • มีผลมาจากความเชื่อพื้นฐานที่อยู่ในระดับลึก ตัวอย่างเช่น ทัศนคติ(attitude) กฎส่วนตัว(rule) ข้อยอมรับเบื้องต้น(assumption)

  15. ความคิดอัตโนมัติ • หมายถึงกระแสของความคิด ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วต่อสถานการณ์ และส่งผลต่ออารมณ์ พฤติกรรม และสรีร ของบุคคล ความคิดอัตโนมัติเป็นความคิดปกติที่เกิดขึ้นในทุกคน ทั้งในคนที่ปกติและผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิต มักเป็นความคิดที่บุคคลมักจะไม่รู้ตัว ไม่ได้ตระหนักในการคิดอัตโนมัติของตนเอง

  16. ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ • คิดเพียงด้านใดด้านหนึ่ง (All or none thinking) • คิดมากกว่าความเป็นจริงแบบเหมารวม(Overgeneralization) • คิดคาดเดาไปล่วงหน้า (Catastrophizing /fortune telling)

  17. ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ • การแปลความหมายโดยปราศจากเหตุผล (Emotional reasoning) • การตีตรา (Labeling) • การขยายต่อเติมหรือตัดทอนเรื่องราว(Magnification/minimization) • การคิดเดาใจผู้อื่น (Mind reading)

  18. ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ตัวอย่างลักษณะความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ • การคิดต่อเหตุการณ์ต่างๆว่า ควร หรือ ต้อง (Should and must statement) • การเลือกที่จะเชื่อหรือคิดในสิ่งที่ตนเองคิดหรือมีความเชื่อ(Mental filter) • การคิดเกี่ยวกับตนเองจากเหตุการณ์ที่ไม่เกี่ยวกับตนเอง(Personalization)

  19. 2. การรู้จักตน การรู้จักผู้อื่น

  20. สติ (Mindfulness)

  21. 3. การสื่อสาร

  22. วิเคราะห์ลักษณะการสื่อสารแบบ TA (Transactional Analysis) 1.1 ลักษณะแบบผู้ปกครอง (Parent Ego State - P)คือ บุคลิกภาพที่มีลักษณะคล้ายพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง 1.2  ลักษณะแบบผู้ใหญ่ (Adult Ego State - A) คือ บุคลิกภาพที่มีลักษณะเป็นผู้ใหญ่ หรือผู้มีวุฒิภาวะสมบูรณ์ 1.3 ลักษณะแบบเด็ก (Child Ego State - C) คือ บุคลิกภาพที่มีลักษณะของความเป็นเด็ก

  23. ตัวอย่างการสื่อสารระหว่างบุคคลตัวอย่างการสื่อสารระหว่างบุคคล คนที่ 1 คนที่ 2 P P A A C C

  24. ตัวอย่างการสื่อสารระหว่างบุคคลตัวอย่างการสื่อสารระหว่างบุคคล คนที่ 1 คนที่ 2 P P A A C C

  25. หัวใจของการบริหารทีมงานหัวใจของการบริหารทีมงาน • เป้าหมายของทีมเป็นหลัก • ให้เวลาเพื่อเดินไปด้วยกัน • พัฒนาความรู้และทักษะที่ยังขาด • ความสำเร็จและความล้มเหลวเป็นของทีม • การรับผิดและรับชอบ • การเข้าใจโลกและชีวิตที่แท้

More Related