1 / 23

บทที่ 4 Defining the Project การระบุของเขตงานโครงการ

บทที่ 4 Defining the Project การระบุของเขตงานโครงการ. Defining the Project.

Download Presentation

บทที่ 4 Defining the Project การระบุของเขตงานโครงการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 Defining the Projectการระบุของเขตงานโครงการ

  2. Defining the Project • การจัดทำโครงรางเพื่อเปนฐานขอมูลโครงการ เพื่อใชในการวางแผน ทำกำหนดการ และการควบคุมโครงการ เพื่อใชในทุก phase ของทุกชวงอายุของโครงการ และเพื่อสนองความตองการของผูที่เกี่ยวของทุกคน และเพื่อวัดผลการดำเนินงานใหเปนไปตามแผนกลยุทธของบริษัท- ขอบเขตโครงการ (Scope) – บอกวาอะไรคือสิ่งที่เราคาดหวังวาจะสงมอบใหกับลูกคาเมื่อจบโครงการ - โครงสรางจำแนกงาน (Work breakdown structure : WBS)

  3. 5 ขั้นตอน 1) การระบุของเขตงานโครงการ (Defining the project scope) 2) การกำหนดความสำคัญของโครงการ (Priority Matrix) 3) การสรางโครงสรางจำแนกงาน (WBS) แผนภูมิตนไมระบุรายละเอียดกิจกรรมที่ทำใหโครงการสำเร็จ 4) การประสานโครงสรางจำแนกงานใหเขากับองคการ : มอบหมายผูรับผิดชอบ 5) การลงรหัสโครงสรางจำแนกงานเพื่อระบบสารสนเทศ : เพื่อใหงายในการติดตาม

  4. 1. การระบุขอบเขตโครงการ (Defining the project scope) • ขอบเขตโครงการ หมายถึง ผลลัพธหรือภารกิจของโครงการในรูปของสินคา/บริการที่ตองสงมอบใหกับลูกคาโครงการ โดยขอบเขตโครงการที่มีความชัดเจนจะมีความสัมพันธกับความสำเร็จของโครงการ • ขอบเขตโครงการตองแสดงในรูปผลลัพธที่เฉพาะเจาะจง จับตองได สามารถวัดได • การระบุขอบเขตโครงการที่ชัดเจนเปนปจจัยหนึ่งแหงความสำเร็จในการบริหารโครงการ ใชวางแผน ติดตามความกาวหนาของโครงการ • ผูจัดการโครงการและลูกคารวมกันพิจารณาขอบเขตโครงการ • ผูจัดการโครงการมีหนาที่ในการตรวจสอบวามีขอตกลงอะไรบางที่ไดทำสัญญาไวกับเจาของโครงการ • ขอบเขตโครงการจะตองทำเปนลายลักษณอักษร เพื่อเขาใจตรงกัน เรียก statements of work (SOW)

  5. ขอบเขตโครงการประกอบดวย (checklist) 1. วัตถุประสงคโครงการ (Project objectives)2. ผลลัพธจากโครงการที่ตองสงมอบ (Deliverables) เปนผลลัพธยอย หรือoutput อยางหนึ่งแตยังไมสุดทาย 3. กำหนดการที่สำคัญ (Milestones) 4. เทคนิคที่จำเปน (Technical requirements) 5. ขอจำกัดตางๆ (Limits & exclusions)6. การทบทวนขอบเขตโครงการกับลูกคา (Reviews with customer)

  6. 2. การกำหนดความสำคัญของโครงการ (Establishing Project Priority) • เปนการกำหนดความสำคัญของ Parameter แตละตัวซึ่งมีผลตอคุณภาพของโครงการ ซึ่งอาจตองมีการ trade-offs กัน ไดแก 1) Performance (Scope) 2) Time (Schedule) 3) Cost (Budget)

  7. การจัดลำดับความสำคัญแบงเปน 3 ระดับ คือ 1) Constrain : กำหนดแนนอน เปลี่ยนแปลงไมไดทั้งเวลา , spec. , scope , budget 2) Enhance : ลดได/สงเสริม ถาเปนการเพิ่ม Value ใหโครงการ (Value added) 3) Accept : ยอมใหคลาดเคลื่อนจากที่กำหนดไว Parameter ที่ใชในการจัดลำดับความสำคัญมีความสำคัญไมเทากัน จึงตอง trade-off ตัดสินใจเลือก

  8. ตัวอยาง Project Priority Matrix : การพัฒนา new high-speed modem คงที่ เพิ่มมูลค่า ยอดได้

  9. • การพัฒนา new high-speed modem ซึ่งเวลาในการนำสินคาออกสูตลาดเปนเรื่องที่สำคัญสำหรับการขาย จะไดเปรียบจากทุกๆ โอกาสที่สามารถลดเวลาเพื่อการแขงขัน และการที่จะยอมใหเปนแบบนี้ได cost หรือ budget ตองยอมใหเปนแบบ accept ได ในขณะที่ performance (specification) ตองเปนแบบ standard ที่เชื่อถือได ไมมีการเปลี่ยนแปลง หรืออีกตัวอยางหนึ่งคือ ถาบริษัทที่มีการดำเนินงานคลายๆ กับ Microsoft จะออก product หนึ่งเพื่อเปนผูแรกในตลาด ดังนั้น time สำคัญที่สุด (constrain) และถา budget ถูกกำหนดไวแลว ดังนั้นตัว scope ตองยอมมีการประนีประนอมเพื่อให project เสร็จทันเวลา

  10. 3. การสรางโครงสรางจำแนกงาน (Creating the work breakdown structure) • การแตก project เปนงานยอยๆ ผลลัพธของแตละงานยอยเรียกวา work breakdown structure (WBS) • คือกลุมของ WP ที่ถูกรับผิดชอบโดยหนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง • ได WP แลวนำไปสรางกำหนดการตอไป

  11. คือกลุมของ WP ที่ถูกรับผิดชอบโดยหนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง • จากรูป เริ่มจาก project (ซึ่งเปน final deliverable) จนสุดทายได work package หลายๆ อัน ซึ่งจะถูกจัดกลุมตามประเภทของงานเพื่อติดตามความคืบหนาของ project ในดานงาน cost และความรับผิดชอบ • Work package เปนงานในชวงเวลาสั้นๆ ที่บอกชวงเวลาเริ่มตนและสิ้นสุด ทรัพยากรที่ใช ตนทุน • แตละ work package คือ control point • Work package manager รับผิดชอบในการดูวา package นั้นจะเสร็จทันเวลาหรือไม อยูในงบประมาณหรือไม

  12. ประโยชนของ WBS - แสดงรายละเอียดองคประกอบของโครงการตามลำดับชั้นของกรอบการทำงาน รวมทั้งแสดงความสัมพันธของแตละองคประกอบ - แสดงชองทางการสื่อสารและชวยในการสรางความเขาใจในงานและการประสานงานระหวางหนวยงานในโครงการ - ชวยในการประเมินคาใชจาย (cost) เวลา (time) และผลการทำงาน (technical performance) ในทุกระดับชั้นในองคกรตลอดอายุของโครงการนั้นๆ ทำใหสามารถวางแผน กำหนดตารางการทำงาน และงบประมาณได โดยสามารถใชเปนกรอบในการติดตามควบคุมคาใชจายและผลงาน รวมทั้งวัดผลการทำงานของแตละหนวยงานไดดวย เมื่อเกิดปญหาจะสามารถรับรูไดอยางรวดเร็ว

  13. - ใหขอมูลแกผูบริหารในแตละระดับ เชน ผูบริหารระดับสูงจะใหความสนใจในผลลัพธสำคัญๆ ของโครงการ ในขณะที่หัวหนางาน (first-line) จะสนใจกับ work package หรือ sub-deliverables เล็กๆ ลงมา - ในการสราง WBS จะมีการมอบหมายความรับผิดชอบใหกับแตละหนวยงาน และคนแตละคน เพื่อให work package บรรลุความสำเร็จ ซึ่งเปนการประสานระหวางงานกับองคกร ใหสอดคลองกัน

  14. การสราง WSB 1) What : กำหนดวามีงานอะไรบาง 2) How long : กำหนดเวลาที่ใชเพื่อใหงาน (work package) แลวเสร็จ 3) Cost : กำหนดงบประมาณตามชวงเวลาตางๆ เพื่อให work package แลวเสร็จ 4) How much : กำหนดทรัพยากรตางๆ ที่จำเปนในการทำให work package แลวเสร็จ 5) Who : กำหนดผูรับผิดชอบแตละหนวยของงาน 6) กำหนดจุดติดตามวัดความกาวหนาของงาน

  15. 4. การประสานโครงสรางจำแนกงานใหเขากับองคกร (Integrating the WBS with the organization) • WBS คือการประสานความรับผิดชอบของแตละหนวยงานขององคกรในการทำงาน ผลงานของ process นี้เรียกวา organizational breakdown structure (OBS) ซึ่งจะเปนตัวบอกวาองคกรไดมอบหมายความรับผิดชอบของงานออกไปอยางไร • วัตถุประสงคของ OBS - เพื่อจัดหากรอบงานเพื่อสรุปงานของแตละหนวยงานในองคกร - ระบุหนวยงานในองคกรที่รับผิดชอบ work package - ยึดหนวยงานในองคกรกับ cost control accounts

  16. • จากรูป จุดตัดของ work package และ organizational unit ทำใหเกิด project control point (cost account) ซึ่งรวบรวมงานและความรับผิดชอบ • จุดตัดของ WBS และ OBS เปน set ของ work package ที่จำเปนเพื่อที่จะทำใหเกิด subdeliverable ที่อยูดานบน และหนวยงานที่รับผิดชอบดานซายมือบรรลุผลอยางสมบูรณ เชน circuit board จะมี work package ของแผนก design , production , test , software การควบคุมอาจตรวจสอบไดจาก 2 ทางคือ ผลงาน และความรับผิดชอบ • ใน execution phase ของ project ความคืบหนาถูกติดตามแบบแนวตั้งที่ deliverable (client’s interest) และแนวนอนโดยความรับผิดชอบขององคกร (management’s interest)

  17. Project Rollup • จุดตัดระหวาง WBS กับ OBS แสดงถึงจุดควบคุม (control point) ที่เรียกวา “Cost account” ใชในการติดตามควบคุมงานของแตละ work package โดยในแตละ work package จะมีเวลา งบประมาณ ทรัพยากร ความรับผิดชอบ และ จุดควบคุม

  18. • จุดตัดของ circuit board และ production แสดง 2 work packages ใน cost account มีมูลคา $140 และ $260 มูลคารวม $400 , rollup to circuit board element (ผลรวมของ cost accounts ใต element) เปน $1,000 ใน hard disk element ซึ่งเปน first-level element มี budget $1,660 • ตัวอยาง แผนก design รับผิดชอบ work package ที่เปน circuit board และ read / write head โดยมี cost account อยางละ $300 รวมเปน $600 , manufacturing section มี budget $1,250 ดังนั้น total for the organization delivering ของ hard disk element = total budget ของ all elements rolled up to the hard disk element • หนวยอาจไมตองเปนตัวเงินก็ได อาจเปน resources , labor hours , materials , time หรืออื่นๆ โดย cost account level ตองมีหนวยเดียวกันทั้งโครงสราง

  19. Direct labor budget rollup (000)

  20. ตัวอยาง PBS

  21. Responsibility Matrix (RM) หรือ Linear responsibility chart • ใชมอบหมายงาน เหมาะกับโครงการเล็กๆ ที่ไมซับซอนมาก (ไมจำเปนตองใช WBS หรือ OBS) • เปนการสรุปงาน (task) ตางๆ ที่ตองทำใหสำเร็จ และผูรับผิดชอบในแตละงานนั้น

  22. ตัวอยาง RM

More Related