1 / 32

อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

บทที่ 11 งบลงทุน ( Capital Budgeting ). อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต. ขั้นตอนในการจัดทำงบลงทุน กำหนดเป้าหมายของธุรกิจ รวบรวมโครงการลงทุน วิเคราะห์กระแสเงินสด ประเมินโครงการ การเลือกโครงการ ติดตามและประเมินผลโครงการ. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.

sorena
Download Presentation

อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 11 งบลงทุน ( Capital Budgeting ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  2. ขั้นตอนในการจัดทำงบลงทุนขั้นตอนในการจัดทำงบลงทุน • กำหนดเป้าหมายของธุรกิจ • รวบรวมโครงการลงทุน • วิเคราะห์กระแสเงินสด • ประเมินโครงการ • การเลือกโครงการ • ติดตามและประเมินผลโครงการ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  3. วิธีการประเมินโครงการลงทุน( Capital Budgeting Decision Rules ) 1. ระยะเวลาคืนทุน ( Payback Period : PB )2. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( Net Present Value : NPV )3. ดัชนีกำไร ( Profitability Index : PI ) 4. อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย ( Average Rate of Return : ARR ) 5. อัตราผลตอบแทนจากโครงการ ( Internal Rate of Return : IRR) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  4. 1. ระยะเวลาคืนทุน ( Payback Period : PB ) คือ ระยะเวลาของกระแสเงินสดรับที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตเท่ากับเงินลงทุนเริ่มแรก ในโครงการนั้นๆ มีวิธีคำนวณได้ 2 วิธี - กรณีที่กระแสเงินสดรับสุทธิรายปีเท่ากันทุกปี PB = เงินลงทุนเริ่มแรก กระแสเงินสดรับสุทธิรายปี - กรณีที่กระแสเงินสดรับรายปีไม่เท่ากัน PB = จำนวนปีก่อนคืนทุน + กระแสเงินสดส่วนที่ต้องการ กระแสเงินสดทั้งปี อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  5. ตัวอย่างบริษัท กำลังพิจารณาโครงการลงทุนสองโครงการ แต่ละโครงการใช้เงินทุน 10 ล้านบาท อายุโครงการ 4 ปี ต้องการผลตอบแทนไม่ต่ำกว่า 12 % ต่อปี คาดว่ามีกระแสเงินสดรับดังนี้ ( หน่วย : ล้านบาท ) ปี โครงการที่ 1 โครงการที่ 2 1 6.5 3.5 2 3.0 3.5 3 3.0 3.5 4 1.0 3.5 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  6. ตัวอย่างบริษัท กำลังพิจารณาโครงการลงทุนสองโครงการ แต่ละโครงการใช้เงินทุน10 ล้านบาทอายุโครงการ 4 ปี ต้องการผลตอบแทนไม่ต่ำกว่า 12 % ต่อปี คาดว่ามีกระแสเงินสดรับดังนี้ ( หน่วย : ล้านบาท ) ปี โครงการที่ 1 โครงการที่ 2 16.53.5 23.03.5 3 3.0 3.5 4 1.0 3.5 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  7. ประเมินโดยวิธี PB โครงการที่ 1PB = กระแสเงินสดรับ 2 ปีเท่ากับ 9.5 + ( 0.5 / 3.0 )= 2 + 0.16 = 2.16 ปี โครงการที่ 2PB = 10 / 3.5 = 2.85 ปี อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  8. จากการประเมินโดยวิธี PBโครงการที่ 1 ใช้เวลาคืนทุน 2.16 ปี โครงการที่ 2 ใช้เวลาคืนทุน 2.85 ปี ดังนั้นควร เลือกลงทุนในโครงการที่ 1 มากกว่าโครงการที่ 2 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  9. ข้อดีและข้อเสียของการ ประเมินโดยวิธี PB ข้อดี - ง่ายและสะดวกในการคำนวณ ข้อเสีย - ไม่คำนึงถึงมูลค่าของเงินตามกาลเวลา - ไม่พิจารณารายได้หลังจากคืนทุนแล้ว อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  10. 2. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( Net Present Value : NPV ) คือ ผลต่างระหว่างค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดรับสุทธิตลอดอายุ โครงการกับเงินลงทุนเริ่มแรก ณ อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ NPV = มูลค่าปัจจุบันของเงินสดรับ - เงินลงทุนเริ่มแรก NPV = CF1 + CF2 + ... + CFn - I( 1+k )1 ( 1+k )2 ( 1+k )n กำหนดให้ CF = กระแสเงินสดรับสุทธิในแต่ละปีI = เงินลงทุนเริ่มแรกk = ต้นทุนของเงินทุน , อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ n = อายุโครงการ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  11. - กรณีที่กระแสเงินสดรับสุทธิรายปีเท่ากันทุกปีNPV = CF ( PVIFA k , n ) - I - กรณีที่กระแสเงินสดรับสุทธิรายปีไม่เท่ากันNPV = CF1(PVIF k,1) + CF2 (PVIF k,2) +...+ CFn (PVIF k,n) - I เกณฑ์การตัดสินใจNPV เป็นบวก จะยอมรับโครงการNPV เป็นลบ จะไม่รับโครงการ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  12. ตัวอย่างบริษัท กำลังพิจารณาโครงการลงทุนสองโครงการ แต่ละโครงการใช้เงินทุน10 ล้านบาทอายุโครงการ4 ปีต้องการผลตอบแทนไม่ต่ำกว่า12 %ต่อปี คาดว่ามีกระแสเงินสดรับดังนี้ ( หน่วย : ล้านบาท ) ปี โครงการที่ 1 โครงการที่ 216.53.52 3.0 3.53 3.0 3.541.0 3.5 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  13. ประเมินโดยวิธี NPV โครงการที่ 1 NPV = 6.5 (PVIF 12,1) + 3.0 (PVIF 12,2) + 3.0 (PVIF 12,3) + 1.0 (PVIF 12,4) - 10.0 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  14. Table A - 1 Present Value of $1 Due At The End of N PeriodsPeriod 12% 10.892920.797230.711840.6355 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  15. ประเมินโดยวิธี NPVโครงการที่ 1 NPV = 6.5 (PVIF 12,1) + 3.0 (PVIF 12,2) + 3.0 (PVIF 12,3) +1.0 (PVIF 12,4) - 10.0 = 6.5 (0.8929) + 3.0 (0.7927) + 3.0 (0.7118) + 1.0 (0.6355) - 10.0= 5.80 + 2.38 + 2.13 + 0.63 - 10.0 = 10.94 - 10.0 = 0.94 ล้านบาท อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  16. ประเมินโดยวิธี NPV โครงการที่ 2NPV = 3.5 ( PVIFA 12 , 4 ) - 10.0 = 3.5 (3.0373 ) - 10.0 = 10.63 - 10.0 = 0.63 ล้านบาท อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  17. จากการประเมินโดยวิธี NPVโครงการที่ 1 มีค่า NPV เท่ากับ 0.94 ล้านบาทโครงการที่ 2 มีค่า NPV เท่ากับ 0.63 ล้านบาทดังนั้น โครงการที่ 1 มีความน่าสนใจในการลงทุนมากกว่า โครงการที่ 2 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  18. ข้อดีและข้อเสียของการประเมินโดยใช้วิธี NPV ข้อดี - คำนึงถึงรายได้ที่เป็นเงินสดตลอดอายุโครงการ - คำนึงถึงค่าปัจจุบันของเงิน - ให้ผลเป็นค่าเงินสดง่ายต่อการตัดสินใจ ข้อเสีย - มีความยุ่งยากและซับซ้อนกว่าวิธี PB อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  19. 3. ดัชนีกำไร ( Profitability Index : PI ) คือ อัตราส่วนระหว่างมูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้รับในอนาคต ตลอดอายุโครงการกับมูลค่าปัจจุบันของเงินลงทุนในโครงการนั้นๆ PI =มูลค่าปัจจุบันของเงินสดรับ มูลค่าปัจจุบันของเงินลงทุน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  20. - กรณีที่กระแสเงินสดรับสุทธิรายปีเท่ากันทุกปีPI =CF ( PVIFA k , n ) I - กรณีที่กระแสเงินสดรับสุทธิรายปีไม่เท่ากันPI = CF1( PVIF k,1 ) + CF2 ( PVIF k,2 ) +...+ CFn ( PVIF k,n )I อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  21. เกณฑ์ในการตัดสินใจPI มากกว่าหรือเท่ากับ 1 จะยอมรับโครงการ โดยจะเลือกลงทุนในโครงการที่มีค่า PI สูงสุดก่อนPI น้อยกว่า 1 จะไม่ยอมรับโครงการ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  22. ตัวอย่างบริษัท กำลังพิจารณาโครงการลงทุนสองโครงการ แต่ละโครงการใช้เงินทุน 10 ล้านบาท อายุโครงการ 4 ปี ต้องการผลตอบแทนไม่ต่ำกว่า 12 % ต่อปี คาดว่ามีกระแสเงินสดรับดังนี้ ( หน่วย : ล้านบาท ) ปี โครงการที่ 1 โครงการที่ 2 1 6.53.5 2 3.0 3.5 3 3.0 3.5 4 1.0 3.5 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  23. ประเมินโดยวิธี PI โครงการที่ 1PI = 6.5 (PVIF12,1) +3.0 (PVIF 12,2) +3.0 (PVIF12,3) +1.0 (PVIF12,4) 10.0 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  24. ประเมินโดยวิธี NPVโครงการที่ 1NPV =6.5 (PVIF 12,1) + 3.0 (PVIF 12,2) + 3.0 (PVIF 12,3) +1.0 (PVIF 12,4)- 10.0 = 6.5 (0.8929) + 3.0 (0.7927) + 3.0 (0.7118) + 1.0 (0.6355) - 10.0= 5.80 + 2.38 + 2.13 + 0.63 - 10.0 =10.94- 10.0 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  25. ประเมินโดยวิธี PIโครงการที่ 1PI = 6.5 (PVIF12,1) + 3.0 (PVIF12,2) +3.0 (PVIF12,3) + 1.0 (PVIF12,4) 10.0 = 10.94 / 10.0 = 1.094 โครงการที่ 2 PI = 3.5 ( PVIFA 12 , 4 ) 10.0 = 10.63 / 10.0 = 1.063 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  26. จากการประเมินโดยวิธี PIโครงการที่ 1 มีค่า PI เท่ากับ 1.094โครงการที่ 2 มีค่า PI เท่ากับ 1.063 ดังนั้น โครงการที่ 1 เป็นโครงการที่ควรจะพิจารณาเลือกลงทุนก่อนโครงการที่ 2 อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  27. ข้อดีและข้อเสียของการประเมินโดยวิธี PI ข้อดี - คำนึงถึงรายได้ที่เป็นเงินสดตลอดอายุโครงการ - คำนึงถึงค่าปัจจุบันของเงิน - บอกให้ทราบว่า การลงทุนในโครงการนั้นๆให้ผลกำไร เป็นกี่เท่าของเงินลงทุน ข้อเสีย - มีความยุ่งยากและซับซ้อน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  28. 4. อัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย ( Average Rate of Return : ARR ) คือ อัตราส่วนระหว่างกำไรสุทธิหลังหักภาษีถัวเฉลี่ยกับเงินลงทุนสุทธิของโครงการถัวเฉลี่ย ARR= กำไรสุทธิหลังหักภาษีถัวเฉลี่ย เงินลงทุนสุทธิถัวเฉลี่ย เงินลงทุนถัวเฉลี่ย = ราคาตามบัญชีสินทรัพย์ - มูลค่าซาก 2เกณฑ์การตัดสินใจ โครงการที่มีค่า ARR มากกว่าหรือเท่ากับผลตอบแทนที่ต้องการจะยอมรับ และจะเลือกโครงการที่มีค่า ARR สูงสุดก่อน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  29. ข้อดีและข้อเสียของการประเมินโดยใช้วิธี ARR ข้อดี - ง่ายและสะดวกในการประเมิน ข้อเสีย - พิจารณากำไรสุทธิตามบัญชีมากกว่ากระแสเงินสด - ไม่คำนึงถึงค่าปัจจุบันของรายได้จากการลงทุน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  30. 5. อัตราผลตอบแทนจากโครงการ ( Internal Rate of Return : IRR )คือ อัตราที่ทำให้ค่าปัจจุบันรวมของกระแสเงินสดรับจากการลงทุนตลอดอายุโครงการ เท่ากับ มูลค่าเงินลงทุน มูลค่าปัจจุบันเงินสดรับ = เงินลงทุน CF1 + CF2 + … + CFn = I( 1+k)1 ( 1+k)2 ( 1+k)n หรือสามารถคำนวณโดยการใช้ตารางทางการเงิน CF1( PVIF k,1 ) + CF2 ( PVIF k,2 ) +...+ CFn ( PVIF k,n ) = I อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  31. เกณฑ์การตัดสินใจ โครงการที่มีค่า IRR มากกว่าหรือเท่ากับอัตราผลตอบแทนที่ต้องการ จะยอมรับโครงการ และจะเลือกโครงการที่มีค่า IRR สูงสุดก่อน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  32. ข้อดีและข้อเสียของการประเมินโดยใช้วิธี IRR ข้อดี - คำนึงถึงรายได้ที่เป็นเงินสดตลอดอายุโครงการ - คำนึงถึงค่าปัจจุบันของเงิน - ทราบผลตอบแทนที่แท้จริงของโครงการนั้นๆ ข้อเสีย - ยากแก่การตัดสินใจ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

More Related