1 / 123

กฎหมายเกี่ยวกับ “การบริหารทรัพยากรมนุษย์”

กฎหมายเกี่ยวกับ “การบริหารทรัพยากรมนุษย์”. ศ. เกษมสันต์ วิลาวรรณ. อ. ฉันทนา เจริญศักดิ์. กฎหมายแรงงานที่สำคัญ. ป.พ.พ. (มาตรา 575 – 586) พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานฯ พ.ศ. 2522 พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. 2537

stacy-crane
Download Presentation

กฎหมายเกี่ยวกับ “การบริหารทรัพยากรมนุษย์”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายเกี่ยวกับ “การบริหารทรัพยากรมนุษย์” ศ. เกษมสันต์ วิลาวรรณ อ. ฉันทนา เจริญศักดิ์

  2. กฎหมายแรงงานที่สำคัญ • ป.พ.พ. (มาตรา 575 – 586) • พ.ร.บ. แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 • พ.ร.บ. จัดตั้งศาลแรงงานฯ พ.ศ. 2522 • พ.ร.บ. ประกันสังคม พ.ศ. 2533 • พ.ร.บ. เงินทดแทน พ.ศ. 2537 • พ.ร.บ. คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

  3. สัญญาจ้างแรงงาน สำคัญไฉน ?????

  4. นายจ้าง ลูกจ้าง สัญญาจ้างแรงงาน หมายถึงสัญญาที่ 1. มีบุคคลสองฝ่าย นายจ้าง-ลูกจ้าง • คนธรรมดานายชาย ทั้งแท่ง นางหญิง ทั้งแผ่น • นิติบุคคลบริษัทปากหวาน จำกัด มหาวิทยาลัยแรงงาน • คนธรรมดา (เท่านั้น) • นิติบุคคล

  5. 2. มีเจตนาจ้างและรับจ้างต่อกัน เกณฑ์แรงงานลงแขกวานใช้ฯลฯ ไม่มีเจตนาจ้างทำงาน เจตนาจ้างทำงาน นายจ้าง ลูกจ้าง เจตนารับจ้างทำงาน ช่วยเหลือสอด เสือกงานในครัวเรือนฯลฯ ไม่มีเจตนารับจ้างทำงาน

  6. 3. มีการทำงานและการจ่ายสินจ้าง ลูกจ้าง งาน ทำ เงิน ใช้กำลังกาย สิ่งของ ใช้กำลังสมอง สิทธิประโยชน์ กระทำการอื่น (นอนหลับตาโฆษณาที่นอน) นายจ้าง จ่าย สินจ้าง

  7. 4. มีการบังคับบัญชา นายจ้างมีอำนาจสั่งและควบคุมการทำงานของลูกจ้างได้ Boss ขา ! นายจ้างมีอำนาจควบคุมเพียงแค่ breathe to the neck (หายใจรดต้นคอ)เท่านั้นแต่นี่ลมหายใจ Boss รด อุ้ย !...

  8. สัญญาจ้างแรงงาน • ตกลงโดยปริยาย ก็ได้ • ตกลงด้วยวาจา ก็ได้ • ทำเป็นหนังสือ ก็ได้

  9. เป็น หนังสือ สัญญาจ้างแรงงาน ด้วยวาจา ไม่มีถ้อยคำแน่นอนอ้างอิงยากมีข้อโต้แย้งมากมีปัญหาว่า “กล่าวไว้ว่าอย่างไร”ต้องใช้บุคคลเบิกความเป็นปัญหาข้อเท็จจริงผิดสัญญาได้ง่ายไม่ได้ประโยชน์จากกฎหมาย มีถ้อยคำแน่นอนอ้างอิงง่ายมีข้อโต้แย้งน้อยมีปัญหาว่า “คำนั้นหมายความว่าอย่างไร”ต้องใช้เอกสารแสดงเป็นปัญหาข้อกฎหมายผิดสัญญาได้ยากได้ประโยชน์จากกฎหมาย

  10. สัญญาจ้าง (ที่ไม่มีผลบังคับดังเจตนา) ตกเป็นโมฆะ • ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย • แสดงเจตนาด้วยสำคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็น สาระสำคัญ • ผิดแผกแตกต่างกับบทบัญญัติของกฎหมาย เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย (กฎหมายคุ้ม – ครองแรงงาน กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ ฯลฯ)

  11. เนื้อหาสัญญา 1. ชื่อสัญญา 2. สถานที่ 3. วัน เดือน ปี 4. ชื่อ อายุ ภูมิลำเนา ของคู่สัญญา(รวมหมายเลขประจำตัวประชาชน) 5. การทำงาน6. การจ่ายค่าจ้าง7. เงื่อนไขอื่น8. กำหนดเวลาการจ้าง 9. การรับรู้เข้าใจในสัญญา 10. ลายมือชื่อคู่สัญญา

  12. หน้าที่นายจ้าง 1. จ่ายสินจ้าง (ค่าจ้าง) 2. บอกกล่าวล่วงหน้า 3. ออกใบสำคัญแสดงการทำงาน

  13. การจ่ายสินจ้าง • ตามชนิดและจำนวนที่ตกลงไว้(โดยคำนวณตามระยะเวลาหรือตามผลของงาน) • ตามกำหนดเวลาที่ตกลงไว้ • ตามวิธีการและสถานที่ที่ตกลงไว้

  14. สัญญา ขอจ้างเป็นภรรยา 1 ปี สัญญา ขอจ้างเป็น สามีตลอด ชีวิต การบอกเลิกสัญญา • สัญญาจ้างมีกำหนดระยะเวลาแน่นอน(ไม่ต้องบอกเลิก สัญญาสิ้นสุดทันทีที่ครบกำหนดเวลา) • สัญญาจ้างไม่มีกำหนดระยะเวลาแน่นอน(ต้องบอกเลิก สัญญาจึงจะสิ้นสุด) • บอกเลิกตามเหตุในกฎหมาย • บอกเลิกตามเหตุในสัญญา

  15. นายจ้าง ลูกจ้าง การบอกกล่าวล่วงหน้า เลิกสัญญาต้องบอกกล่าวล่วงหน้าในเมื่อถึงหรือก่อนจะถึงกำหนดจ่ายสินจ้างคราวนี้เพื่อให้มีผลเป็นการเลิกสัญญาเมื่อถึงกำหนดจ่ายสินจ้างคราวหน้า

  16. ข้อยกเว้น “ไม่ต้องบอกกล่าว” • เลิกจ้างตามกำหนดเวลาในสัญญา • ลูกจ้างกระทำการดังต่อไปนี้ • (1)จงใจขัดคำสั่งนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมาย • (2)ละเลยไม่นำพาต่อคำสั่งเช่นว่านั้นเป็นอาจิณ • (3)ละทิ้งการงานไปเสีย(4)กระทำความผิดอย่างร้ายแรง(5)ทำประการอื่นอันไม่สมแก่การปฏิบัติหน้าที่ของตนให้ลุล่วงไปโดยถูกต้องและสุจริต

  17. นายจ้าง : บอกเลิกสัญญาจ้างไม่ถูกต้อง เรียกร้องสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า(ค่าตกใจ) จากนายจ้างได้ ลูกจ้าง : ลูกจ้าง : บอกเลิกสัญญาจ้างไม่ถูกต้อง เรียกร้องค่าเสียหายจากลูกจ้างได้ นายจ้าง :

  18. บริษัทหวานเหมือนเกลือ จำกัด 56 สุขุมวิท 101 บางจาก กรุงเทพมหานคร 10260 วันที่ ...... เดือน .................... พ.ศ. ............ ขอรับรองว่า........................................................... ได้ทำงานกับบริษัทหวานเหมือนเกลือ จำกัด ตั้งแต่ วันที่ ..... เดือน .........…........... พ.ศ. ....... ถึงวันที่ ...... เดือน .................... พ.ศ. ............... ตำแหน่งการงานครั้ง สุดท้ายเป็น ......................................................................... มีหน้าที่ ................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ใบผ่านงาน ลงชื่อ ................................................. (นายหวาน เหมือนเกลือ) กรรมการผู้จัดการ ใบสำคัญแสดงการทำงาน

  19. รัฐ นายจ้าง (องค์กรนายจ้าง) ลูกจ้าง (องค์กรลูกจ้าง) กฎหมายคุ้มครองแรงงาน สิทธิ – หน้าที่ การจ้างงาน การใช้แรงงาน ความสัมพันธ์ที่เหมาะสม

  20. สิทธิ - หน้าที่ นายจ้าง - ลูกจ้าง กฎหมายคุ้มครองแรงงาน (พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541) มาตรฐานขั้นต่ำในการจ้างงาน

  21. ลักษณะสำคัญ • มีโทษทางอาญา • “ห้ามมิให้”= ต้องห้ามชัดเจน = โมฆะ • “ให้” หรือ “ต้อง”= โมฆะ กฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย

  22. ทุกราย • ทุกประเภทกิจการ ยกเว้น • ราชการ • รัฐวิสาหกิจ • นายจ้างตามกฎกระทรวง ขอบเขตการใช้บังคับ

  23. ผู้ซึ่งตกลงรับลูกจ้างเข้าทำงานโดยจ่ายค่าจ้างให้ผู้ซึ่งตกลงรับลูกจ้างเข้าทำงานโดยจ่ายค่าจ้างให้ • นายจ้างตัวจริง • นายจ้างรับมอบ • นายจ้างตัวแทน • นายจ้างรับถือ นายจ้าง

  24. ตกลงทำงานให้นายจ้างโดยรับค่าจ้างตกลงทำงานให้นายจ้างโดยรับค่าจ้าง “ลูกจ้าง” • ลูกจ้างทดลองงาน • ลูกจ้างประจำ • ลูกจ้างชั่วคราว • ลูกจ้างงานบ้าน ฯลฯ • ลูกจ้าง PART TIME

  25. ห้าม ! เรียกเงินประกันยกเว้น • งานสมุห์บัญชี • งานเก็บหรือจ่ายเงิน • เฝ้า / ดูแล สถานที่หรือทรัพย์สิน • งานติดตามหรือเร่งรัดหนี้สิน • งานควบคุมหรือรับผิดชอบยานพาหนะ • งานซื้อขาย แลกเปลี่ยน เช่าทรัพย์ ไม่เกิน 60 เท่า ของค่าจ้างรายวันโดยเฉลี่ย เงินประกันการทำงาน 3034 / 2545 ผู้จัดการสถานีจำหน่ายน้ำมัน นายจ้างเรียกเงินประกันได้

  26. นายจ้าง ต้องปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและหญิงโดยเท่าเทียมกันในการจ้างงานนายจ้าง ต้องปฏิบัติต่อลูกจ้างชายและหญิงโดยเท่าเทียมกันในการจ้างงาน 6011 – 6017 / 2545 ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน กำหนดเกษียณอายุเมื่อหญิงอายุครบ 50 ปี ชายอายุครบ 55 ปี ขัดต่อมาตรา 15 ม. 15

  27. SEXUAL HARASSMENT “ล่วงเกินทางเพศ” ห้าม! • นายจ้าง • หัวหน้างาน • ผู้ควบคุมงาน • ผู้ตรวจงาน ม. 16

  28. นายจ้าง หรือ หญิง เด็ก เด็กชาย เด็กหญิง หญิง 18 ปีขึ้นไป ไม่เกิน 18 ปี

  29. ารทำงานล่วงเวลา ก การทำงานล่วงเวลา ม. 24 ม. 26 ม. 31 = งาน นอก หรือ เกิน เวลา หรือ ชั่วโมง ทำงานที่ตกลงกัน

  30. ห้าม ! เว้นแต่ลูกจ้างยินยอม เป็น คราวๆ ไป • งานต่อไปนี้ให้ทำได้ตามที่จำเป็น(ไม่ต้องได้รับความยินยอม) • ลักษณะงาน – สภาพ ต้องทำติดต่อกัน • งานฉุกเฉิน • งานตามกฎกระทรวง ม. 24

  31. กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2541) ชม. ทำงานล่วงเวลา (ม. 24 วรรค 1) ชม. ทำงานในวันหยุด (ม. 25 วรรค 2 และ วรรค 3) + ไม่เกิน 36 ชม. / สัปดาห์ ม. 26

  32. านอันตราย ! ง ***** ทำงานล่วงเวลา ไม่ได้ (เด็ดขาด) (กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2541)) ***** ม. 31

  33. การทำงานในวันหยุด วันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี วันหยุด (มาตรา 5) วันหยุดพักผ่อนประจำปี ห้าม ! เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากลูกจ้างเป็นคราว ๆ ไป ม. 25

  34. งานต่อไปนี้ “ให้ทำได้”(ไม่ต้องได้รับความยินยอม) • กิจการโรงแรม • งานฉุกเฉิน ไม่เกิน 36 ชั่วโมง / สัปดาห์ (รวมการทำงาน ล่วงเวลา ม. 26) • สถานพยาบาล • งานขนส่ง • ร้านขายอาหาร เครื่องดื่ม • สโมสร • สถานมหรสพ • ตามกฎกระทรวง • ลักษณะ / สภาพต้องทำติดต่อกัน

  35. วลาพัก เ แต่ ไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง / วัน หากตกลงเพื่อประโยชน์ของลูกจ้าง ทำได้ แต่ ชั่วโมงทำงานปกติไม่รวมเวลาพัก หากพักเกินกว่า 2 ชั่วโมง / วัน ให้นับรวมได้ ม. 27

  36. 525 / 2534 ให้หยุดงานติดต่อกันเกิน 24 ชม. : 2 ครั้ง / สัปดาห์ วันหยุดประจำสัปดาห์ • จัดให้ลูกจ้างมี สัปดาห์หนึ่งไม่น้อยกว่า 1 วัน • แต่ละวันห่างกันไม่เกิน 6 วัน • งานบางประเภท สะสมวันหยุดได้ (หากตกลงกัน) ม. 28

  37. วันหยุดตามประเพณี • ประกาศ กำหนด ให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้า • ไม่น้อยกว่า 13 วัน / ปี ม. 29

  38. วันหยุดตามประเพณี วันหยุดตามประเพณี วันหยุดราชการ ประจำปี วันตามขนบธรรมเนียม ประเพณีท้องถิ่น วันหยุดทางศาสนา (ศาสนาใดก็ได้) วันแรงงานแห่งชาติ (บังคับให้มี) ไม่น้อยกว่า 13 วัน / ปี

  39. านที่ไม่อาจให้ลูกจ้างหยุดได้านที่ไม่อาจให้ลูกจ้างหยุดได้ ง • โรงแรม • งานในป่า • สถานมหรสพ • สถานพยาบาล • งานขนส่ง • ในที่ทุรกันดาร • ร้านอาหาร • สมาคม • สถานบริการท่องเที่ยว ฯลฯ ตกลง ทำงานโดย รับเงินหรือ ขอ หยุดวันอื่น แทนได้

  40. วันหยุดพักผ่อนประจำปีวันหยุดพักผ่อนประจำปี • กำหนดให้ลูกจ้างหยุด ปีหนึ่งไม่น้อยกว่า 6 วันทำงาน • เมื่อลูกจ้าง ทำงานครบ 1 ปี = 365 วัน • หากจัดไม่ครบ ต้องจ่าย ค่าทำงานในวันหยุด (ม.64) ม. 30

  41. นายจ้าง เลิกจ้าง (โดย : ลูกจ้างไม่ได้ทำผิดตาม มาตรา 119) ต้องจ่าย ค่าจ้างสำหรับวันหยุดพักผ่อนประจำปี ในปีที่เลิกจ้าง ตามส่วน ม. 67

  42. วันลา ป่วย คลอดบุตร ทำหมัน ฝึกอบรมฯ กิจธุระอันจำเป็น ม. 5 รับราชการทหาร

  43. วันลาป่ว ย • ลาได้ เท่าที่ป่วยจริง • ติดต่อกัน 3 วันทำงานขึ้นไป เรียกใบรับรองแพทย์ได้ • ต้องลาป่วย อันมิใช่เนื่องมาจากการทำงาน • จ่ายค่าจ้างตลอดเวลาที่ลา แต่ไม่เกิน 30 วัน / ปี (ม. 57) ม. 32

  44. ลาเพื่อทำหมั น ลาเพื่อทำหมัน ชาย หญิง ลาได้ตามเวลาที่แพทย์กำหนด ม. 33 ได้ค่าจ้างตลอดเวลาที่ลา (มาตรา 57 วรรคสอง)

  45. ลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็ลาเพื่อกิจธุระอันจำเป็ น ***** หลักเกณฑ์ จำนวนวัน และการจ่ายค่าจ้าง เป็นไปตาม “ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน” ***** ม. 34

  46. ลาเพื่อรับราชการทหา ร • ในการเรียกพลเพื่อตรวจสอบ เพื่อฝึกวิชาทหาร เพื่อทดลองความพรั่งพร้อม • จ่ายค่าจ้างตามวันที่ลา แต่ไม่เกินปีละ 60 วัน (ม.58) พลทหาร ศรราม สมชาย ธนา ได้สิทธิตามมาตรา 35 หรือไม่? ม. 35

  47. ลาเพื่อการฝึกอบร ม ***** เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 5 ***** ม. 36

  48. ลาเพื่อคลอดบุต ร • เฉพาะลูกจ้างหญิง เท่านั้น ! • ครรภ์หนึ่ง ไม่เกิน 90 วัน (นับรวมวันหยุดระหว่างวันลา) • ได้ค่าจ้างตลอดเวลาที่ลา แต่ไม่เกิน 45 วัน (ม. 59) ข้อน่าคิด : คลอดบุตรแฝด 3 ลาได้กี่วัน? ม. 41

  49. การใช้แรงงานหญิง ทำงานอันตราย • งานในที่อับอากาศ (เว้นแต่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ-ร่างกาย) • (ใต้ดิน, ใต้น้ำ, ในถ้ำ, อุโมงค์ ฯลฯ) • งานในที่สูง • (บนนั่งร้านสูง 10 เมตรขึ้นไป) • งานเกี่ยวกับวัตถุระเบิด / วัตถุไวไฟ ห้าม ! นายจ้างให้ลูกจ้างหญิงทำ ม. 38

  50. หญิงมีครรภ์ ห้าม ! นายจ้างให้ลูกจ้างหญิงทำงาน • เกี่ยวกับเครื่องจักร / เครื่องยนต์ที่มีความสั่นสะเทือน • ขับเคลื่อน หรือติดไปกับยานพาหนะ • ยก แบก หาบ ทุน ลาก เข็น ของหนักเกิน 15 กก. • ล่วงเวลา • ในวันหยุด • ที่ทำในเรือ • ระหว่าง 22 – 6 นาฬิกา ม. 39

More Related