1 / 31

นำเสนอโดย นางสาวฟิสิกส์ อุดมทรัพย์ 53400208

Carbon credit. ET694… Solar Energy. นำเสนอโดย นางสาวฟิสิกส์ อุดมทรัพย์ 53400208 สายวิชาเทคโนโลยีพลังงาน คณะพลังงาน สิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. Carbon credit. หัวข้อที่กล่าวถึง. คืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร องค์กรที่เข้ามาดูแลเรื่องนี้

stacy
Download Presentation

นำเสนอโดย นางสาวฟิสิกส์ อุดมทรัพย์ 53400208

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Carbon credit ET694… Solar Energy นำเสนอโดย นางสาวฟิสิกส์ อุดมทรัพย์ 53400208 สายวิชาเทคโนโลยีพลังงาน คณะพลังงาน สิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  2. Carbon credit หัวข้อที่กล่าวถึง คืออะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร องค์กรที่เข้ามาดูแลเรื่องนี้ ความคิดเห็นของภาครัฐและภาคเอกชนของไทย สถานการณ์ทั่วโลก สถานการณ์ในประเทศไทย ประโยชน์ที่ได้รับ

  3. คาร์บอนเครดิต หมายถึง สิ่งที่ทดแทนการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ส่วนใหญ่เกิดการเผาไหม้น้ำมันดิบให้เป็นพลังงานในการแปรรูปสินค้าในโรงงานอุตสาหกรรม รวมถึงก๊าซที่ก่อให้เกิดภาวะเรือนกระจก

  4. คาร์บอนเครดิต ก๊าซเรือนกระจกประกอบด้วย... • ๕๓ %ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (๓๘๐ ppm) • ๑๗ %ก๊าซมีเทน (๑.๘ ppm) • ๑๓ %ก๊าซโอโซนระดับผิวโลก(๐.๐๓ ppm) • ๑๒ %ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (๐.๓ ppm) • ๕ %ก๊าซซีเอฟซี (๑ ppm) http://blog.eduzones.com/nunthida/1559

  5. คาร์บอนเครดิต ใครคือผู้ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์... http://blog.eduzones.com/nunthida/1559

  6. คาร์บอนเครดิตเกิดขึ้น...คาร์บอนเครดิตเกิดขึ้น... • It was adopted in Kyoto, Japan, on 11th December 1997 • เป็นมาตรการทางกฎหมาย โดยประกาศในข้อตกลงว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกของ องค์การสหประชาชาติ (United Nations Framework Convention on Climate Change-UNFCCC) พิธีสารเกียวโต(Kyoto Protocol)

  7. พิธีสารเกียวโต(Kyoto Protocol) • เงื่อนไข: • ช่วงพ.ศ. 2551-2555 ให้ประเทศพัฒนาแล้วที่เป็นสมาชิกของพิธีสารฯ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศอุตสาหกรรม มีพันธกรณีต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงให้ได้ร้อยละ 5.2 • สาเหตุที่ทำให้เกิดการซื้อขายเพราะ ในประเทศพัฒนาแล้วไม่อาจลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ตามข้อกำหนด ก็เลยไปลงทุนซื้อคาร์บอนเครดิตจากประเทศกำลังพัฒนา

  8. พิธีสารเกียวโต(Kyoto Protocol) 1.การดำเนินการร่วมกัน (Joint Implementation:JI)2.การค้าขายแลกเปลี่ยนก๊าซเรือนกระจก (Emissions Trading:ET)3.กลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism:CDM ) พิธีสารเกียวโตมี 3 กลไกที่มุ่งจะช่วยให้ประเทศพัฒนาแล้วบรรลุเป้าหมายการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ ได้แก่

  9. องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) • ชื่อย่อ “ อบก.”และมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)” เรียกโดยย่อว่า “TGO” • ขึ้นภายใต้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม องค์กรที่เข้ามาดูแล...

  10. วัตถุประสงค์ขององค์กร:วัตถุประสงค์ขององค์กร: • วิเคราะห์ กลั่นกรอง และทำความเห็นเกี่ยวกับการให้คำรับรองโครงการที่ลดการปลดปล่อยก๊าซ เรือนกระจกตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด • ติดตามประเมินผลโครงการที่ได้รับคำรับรอง และส่งเสริมการพัฒนาโครงการ องค์กรที่เข้ามาดูแล... • เป็นศูนย์กลางข้อมูลที่เกี่ยวกับสถานการณ์ดำเนินงานด้าน ก๊าซเรือนกระจก

  11. สถานการณ์ทั่วโลก... ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ประเทศต่างๆ ปล่อยขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศในแต่ละปี (ล้านตัน)ที่มา : World Resources 2005สหรัฐอเมริกา ๕,๗๖๒จีน ๓,๔๗๔รัสเซีย ๑,๕๔๐ญี่ปุ่น ๑,๒๒๕อินเดีย ๑,๐๐๘อังกฤษ ๕๕๘ออสเตรเลีย ๓๓๒ไทย ๑๗๒มาเลเซีย ๑๒๔ลาว ๐.๔ ประเทศที่ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากที่สุด http://blog.eduzones.com/nunthida/1559

  12. สถานการณ์ทั่วโลก... ปัจจุบันประเทศที่มีความจำเป็นต้องจัดหาคาร์บอนเครดิตมากที่สุด คือ สหรัฐอเมริกา เนื่องจากเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมามากที่สุด

  13. สถานการณ์ทั่วโลก... • ประเทศเยอรมัน • ใช้ถ่านหินในการผลิตไฟฟ้าก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นการเสียเปรียบในการแข่งขันเชิงธุรกิจ เนื่องจากต้องหาวิธีในการลดการผลิตก๊าซเรือนกระจกให้น้อยที่สุด ที่มา: วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

  14. ตลาดคาร์บอนเครดิตในต่างประเทศตลาดคาร์บอนเครดิตในต่างประเทศ สถานการณ์ทั่วโลก... • ตลาดที่มีการกำหนดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก • ตลาดที่มีการตกลงซื้อขายแบบทวิภาคีระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ ตลาดคาร์บอนเครดิตทางการ ตลาดคาร์บอนเครดิตแบบสมัครใจ

  15. ตลาดคาร์บอน (Carbon Market) สถานการณ์ทั่วโลก... Annex I Government Carbon Fund Carbon Broker ปัจจุบันผู้รับซื้อคาร์บอนเครดิตแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ

  16. สถานการณ์ในประเทศไทย...สถานการณ์ในประเทศไทย... ไทยมีความพยายามในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในหลายรูปแบบ เช่น โครงการส่งเสริมการปลูกป่าเพื่อดักจับคาร์บอน การส่งเสริมการใช้พลังงานเซลล์สุริยะ การรณรงค์ใช้พลังงานที่ปล่อยปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ต่ำ เช่นก๊าซโซฮอล์

  17. สถานการณ์ในประเทศไทย...สถานการณ์ในประเทศไทย... • ผ่านการขึ้นทะเบียนกับสำนักงานคณะกรรมการบริหารกลไกการพัฒนาที่สะอาด(CDM) ทั้งสิ้น 10 โครงการ ในปี พ.ศ. 2550 ได้มีการจัดตั้งองค์กรที่เรียกว่า “องค์กรบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก” ปัจจุบันมีโครงการที่ได้รับความเห็นชอบโครงการ CDM ที่สามารถซื้อ-ขายคาร์บอนได้ทั้งสิ้น 38 โครงการ

  18. สถานการณ์ในประเทศไทย...สถานการณ์ในประเทศไทย... ผ่านการรับรองและได้ใบรับรอง(CERs) ของสหประชาชาติ เพื่อซื้อ-ขายคาร์บอนเครดิต แล้วทั้งสิ้น 2โครงการ ผ่านการขึ้นทะเบียนกับสำนักงานคณะกรรมการบริหารกลไก การพัฒนาที่สะอาด(CDM) ทั้งสิ้น 10 โครงการ

  19. การขายคาร์บอนเครดิตภายใต้โครงการ CDM สถานการณ์ในประเทศไทย... มาทำความเข้าใจกับ CDM CDM : เป็นเครื่องมือ (กลไก) ที่ถูกสร้างขึ้น เพื่อให้เกิดการซื้อขายหน่วยของก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงได้ (CERs : Certified Emission Reduction) ระหว่างประเทศพัฒนาแล้ว และ ประเทศกำลังพัฒนา

  20. ขั้นตอนในการขอใบรับรองCERsขั้นตอนในการขอใบรับรองCERs สถานการณ์ในประเทศไทย... ยื่นโครงการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกไปที่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เสนอโครงการให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา ส่งเอกสารให้ประชาชาติรับรองเพื่อออกใบรับรองซื้อ-ขาย คาร์บอนเครดิต

  21. สถานการณ์ในประเทศไทย...สถานการณ์ในประเทศไทย... ปัจจุบันมีโครงการที่ผ่านการขึ้นทะเบียนภายใต้ UNFCC CDM-EB ทั้งสิ้น 10 โครงการ ที่มา: วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

  22. สถานการณ์ในประเทศไทย...สถานการณ์ในประเทศไทย... ที่มา: วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

  23. สำหรับประเทศกำลังพัฒนาอย่างไทย ได้มีแนวคิดเกี่ยวกับคาร์บอนเครดิต เป็น 2 ฝ่าย คือ • ขายหรือแลกเปลี่ยนคาร์บอนเครดิตที่ไทยมีให้กับประเทศพัฒนาอุตสาหกรรม • ในอนาคต ไทยจำเป็นต้องลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ตาม • พันธสัญญาในพิธีสารเกียวโต สถานการณ์ในประเทศไทย...

  24. ความคิดเห็นของภาครัฐ กลุ่มนักวิชาการกล่าวว่า ไทยควรมีการเก็บคาร์บอนเครดิตไว้บ้าง ในอนาคตอาจต้องถูกบังคับให้ลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกเช่นกัน เมื่อถึงเวลานั้นอาจไม่มีคาร์บอนเครดิตเหลือเพราะขายล่วงหน้าให้ประเทศพัฒนาอุตสาหกรรมหมดแล้ว

  25. นายนที สิทธิประศาสน์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอ.ที.ไบโอพาวเวอร์ หนึ่งในผู้รับการขึ้นทะเบียนการซื้อ-ขายคาร์บอนเครดิต กล่าวว่า ความคิดเห็นของภาคเอกชน “ ทิศทางของคาร์บอนเครดิตนับแต่นี้ จะเป็นเรื่องที่รุกคืบเข้ามาในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากกระแสของภาวะโลกร้อน/สิ่ง แวดล้อมที่มีการเปลี่ยน แปลง พร้อมกับปัจจัยที่จะเชื่อมโยงไปยังภาคเศรษฐกิจ ดังนั้นเอกชนต้องปรับตัวให้เข้ากับทิศ ทางที่เปลี่ยนแปลงนี้ โครงการใดที่ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ก็ควรใช้ให้เป็นประโยชน์ นอกเหนือจากรายได้ที่ได้รับเพิ่มขึ้นแล้ว ยังมีผลต่อการพิจารณาการปล่อยกู้ของสถาบันการเงินด้วย”

  26. นาย เกียรติพงศ์ น้อยใจบุญ ประธานกรรมการบริหาร บริษัทเอกรัฐโซลาร์ จำกัด กล่าวว่า ความคิดเห็นของภาคเอกชน “ เนื่องจากบริษัทได้มีการผลิตแผงและแผ่นโซลาร์เซลล์และมีแผนที่จะสร้างโรง ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งก็เป็นโครงการที่สามารถลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกด้วย ซึ่งหากโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เกิดขึ้นได้ ตนก็จะนำเอาสู่กลไก CDM เพื่อจำหน่ายคาร์บอนเครดิตให้กับประเทศพัฒนาแล้วด้วยเช่นกัน ”

  27. ประโยชน์ที่ได้รับ ข้อดี... กลุ่มประเทศภาคี 1 (Annex 1 ) ที่สามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดได้ เป็นการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ได้ภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กร กลุ่มนอกภาคี 1 (Annex 1) ซึ่งยังไม่ถูกบังคับลดก๊าซเรือนกระจก เป็นการรักษาสิ่งแวดล้อม สามารถนำคาร์บอนเครดิตที่ลดได้ไปขายหรือแลกเปลี่ยนกับประเทศพัฒนาอุตสาหกรรม เป็นการสร้างประโยชน์ให้กับองค์กรธุรกิจได้

  28. ประโยชน์ที่ได้รับ ข้อเสีย.. ประเทศนอกกลุ่มภาคี 1 ควรระวังการซื้อขายคาร์บอนเครดิตให้ประเทศในกลุ่มภาคี 1

  29. อุบลรัตน์ หวังรักษ์ดีสกุล, “การบริหารคุณภาพยุคใหม่กับคาร์บอนเครดิต”, วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ,ปีที่ 19 ฉบับที่1, เดือนมกราคม-เมษายน 2552. องค์กรบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก. Website:http://www.tgo.or.th/ กระทรวงพลังงาน, กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. Website: http://www.dede.go.th http://www.measwatch.org/autopage/show_page.php? http://www.csri.or.th/ http://www.mtec.or.th/index.php?option=com_content&task=view &id=555&Itemid=176 7. http://www.greenpeace.org/seasia/th/campaigns/climate-and-energy/governments/kyoto-protocol/ อ้างอิง

  30. Thank you for your attention

More Related