1 / 37

Method of Proof

Method of Proof. 030513122 - Discrete Mathematics Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka. ทำไมต้องพิสูจน์ (1). “ Mathematical proofs, like diamonds, are hard and clear, and will be touched with nothing but strict reasoning . ” -John Locke

stacy
Download Presentation

Method of Proof

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Method of Proof 030513122 - Discrete Mathematics Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka

  2. ทำไมต้องพิสูจน์ (1) • “Mathematical proofs, like diamonds, are hard and clear, and will be touched with nothing but strict reasoning.”-John Locke • Mathematical proofs are, in a sense, the only true knowledge we have • They provide us with a guarantee as well as an explanation (and hopefully some insight)

  3. ทำไมต้องพิสูจน์ (2) • การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์มีความจำเป็นทางด้านคอมพิวเตอร์ • ควรจะพยายามพิสูจน์ algorithm • terminates • sound, complete, optimal • finds optimal solution • เพื่อแสดงว่าวิธีดังกล่าวมีประสิทธิภาพมากกว่าวิธีอื่นๆ • การพิสูจน์คุณสมบัติของโครงสร้างข้อมูล อาจะนำทางไปสู่ algorithm ใหม่ที่ง่ายและมีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม

  4. คำศัพท์ที่ควรรู้ • Theoremเป็นstatement ที่สามารถแสดงได้ว่าเป็นจริง (จากการพิสูจน์) • Proofเป็นชุดของstatements ที่ใช้สำหรับการสร้างข้อโต้แย้ง • Axiomsหรือpostulatesเป็น statements ที่มีหลักฐานในตัวมันเองว่าเป็น จริง เสมอ • Lemmaคือtheorem ที่มีประโยชน์ในการพิสูจน์ theorem อื่น • Corollaryเป็นtheorem ที่สามารถอ้างได้จาก theorem ที่ผ่านการพิสูจน์แล้ว • Propositionมีความสำคัญน้อยกว่าtheorem • Conjectureเป็นstatement ที่ไม่ทราบค่าความจริง • Rules of inferenceเป็นช่องทางในการหาค่าสรุป

  5. Theorems: ตัวอย่าง • Theorem • กำหนดให้a, b, และcเป็นจำนวนเต็ม แล้ว • ถ้า a|bและa|cแล้วa|(b+c)[ a | b หมายถึง a หาร b ลงตัว ] • ถ้าa|bแล้วa|bc สำหรับ c ที่เป็นจำนวนเต็มทุกค่า • ถ้าa|bและb|c แล้วa|c • Corollary: • ถ้าa, b, และcเป็นจำนวนเต็มที่a|bและa|c แล้วa|mb+ncโดยที่ m และ n เป็นจำนวนจริง • ลองทำดู ว่าได้ Corollary จาก Theorem ได้ยังไง

  6. Proofs: การพิสูจน์ทั่วไป • ข้อโต้แย้ง (argument) จะถือว่า ถูกต้อง(valid) • ถ้าทุกสมมุติฐาน (hypotheses) เป็นจริง, • แล้วข้อสรุป (conclusion) เป็นจริงด้วย • จากสมมุติฐานp1, p2, …, pn, จะสามารถหาสรุปได้เมื่อ: (p1 p2 …  pn)  q • ปกติการพิสูจน์จะทำเป็นขั้นตอนในการพิสูจน์ Theorem

  7. Proofs: ตัวอย่าง • ตัวอย่าง • พิจารณาtheorem ที่ว่า ‘If x>0 and y>0, then x+y>0’ • อะไรคือสมมุติฐาน (assumptions)? • อะไรคือ ข้อสรุป (conclusion) ? • แต่ละขั้นตอนในการพิสูจน์จะต้องเป็นจริง

  8. Rules of Inference (กฎของการอนุมาน) • การอนุมานด้วยวิธีการให้เหตุผลจะต้องมีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล กฎของการอนุมานเชิงตรรกศาสตร์ ได้แก่ • Modus Ponens (MP) • Modus Tollens (MT) • Disjunctive Syllogism (DS) • Addition (Add) • Simplification (Simp) • Conjunction (Conj) • Hypothetical Syllogism (HS)

  9. Modus Ponens (MP) • Modus Ponens (-elimination) P  Q P Q

  10. Addition (Add) • Addition (-introduction) หรือ P P  Q Q P  Q

  11. Simplification (Simp) • Simplification (-elimination) หรือ P Q P P Q Q

  12. ตัวอย่างการใช้งาน Simplification • จงพิสูจน์ว่า ถ้า0 < x < 10 แล้วx  0 • 0 < x < 10  (0 < x)  (x < 10) • (x  0)  (x < 10)  (x  0)(1) Simp • (x  0)  (x  0)  (x = 0) (2) Add • (x  0)  (x = 0)  (x  0)

  13. Conjunction (Conj) • Conjunction (-introduction) P Q P Q

  14. Modus Tollens (MT) • Modus Tollens (-elimination) P  Q Q P • ตัวอย่าง : • ถ้าคุณเป็นนักศึกษา มจพ แล้วคุณคือลูกพระจอม • สมชายไม่ได้เป็น ลูกพระจอม • ดังนั้น สามารถสรุปได้ว่า สมชายไม่เป็นเป็นนักศึกษา มจพ

  15. Hypothetical syllogism (HS) • Hypothetical syllogism (chain reasoning, chain deduction) • ตัวอย่าง : • ถ้าคุณไม่มีงานทำ คุณจะไม่มีเงิน • ถ้าคุณไม่มีเงิน คุณจะซื้อiphoneไม่ได้ • ดังนั้น สามารถสรุปได้ว่า ถ้าคุณไม่มีงานทำ คุณจะซื้อ iphoneไม่ได้ P  Q Q  R P  R

  16. Disjunctive syllogism (DS) • Disjunctive Syllogism (-elimination) หรือ • ตัวอย่าง : • ท้องฟ้ามีสีฟ้าหรือสีเทา • ตอนนี้ท้องฟ้าไม่ใช่สีเทา • ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่า ท้องฟ้ามีสีฟ้า P  Q P Q P  Q Q P

  17. Rules of Inference: Resolution • For resolution, we have the following tautology ((p q) (p r))  (q  r) • Essentially, • If we have two true disjunctions that have mutually exclusive propositions • Then we can conclude that the disjunction of the two non-mutually exclusive propositions is true

  18. Proofs: ตัวอย่างที่ 1 • วิธีที่ดีที่สุดในการพิสูจน์ให้ได้ คือ เห็นตัวอย่างการพิสูจน์ให้มากที่สุด • จงพิสูจน์ Theorem:The sum of two odd integers is even • กำหนดให้ m และ n เป็นเลขคี่ • เลขคี่ x คือเลขที่เกิดจากสมการ x = (2*k) + 1 สำหรับทุกค่า k ใน Z • ดังนั้น m = (2k1 + 1) และ n = (2k2 + 1) • เริ่มการพิสูจน์ • m + n = (2k1 + 1) +(2k2 + 1) = 2k1+ 2k2+ 2 = 2(k1+ k2+ 1) • k1 + k2 + 1เป็นจำนวนเต็ม ดังนั้น 2 คูณกับตัวเลขอะไรก็จะได้เลขคู่

  19. Proofs: ตัวอย่างที่ 2 • กำหนดstatements ด้านล่างให้เป็นจริง: • (p  q) • (r  s) • (r  p) • กำหนดให้q เป็นเท็จ • จงแสดงว่าs ต้องเป็นจริง • (p  q)assumption • (r  s) assumption • (r  p) assumption • q assumption • p (1),(4) MT • r (3),(5) DS • s (2),(6) MP

  20. Fallacies (1) • ตัวอย่างที่ผิดๆ ก็มีประโยชน์เพื่อให้เรารู้ว่าไม่ควรจะทำอะไร • ข้อผิดพลาด 3 อย่างที่พบกันบ่อยครั้งคือ • Fallacy of affirming the conclusion (q  (p  q))  p • Fallacy of denying the hypothesis (p (p  q))  q • Circular reasoning ไปใช้ข้อสรุปเป็นสมมุติฐาน

  21. ทบทวน Rule of References อีกนิด • Affirming the antecedent: Modus ponens (p  (p  q))  q • Denying the consequent: Modus Tollens (q (p  q))  p • Affirming the conclusion: Fallacy (q  (p  q))  p • Denying the hypothesis: Fallacy (p (p  q))  q

  22. Fallacies (2) • บางครั้งการพิสูจน์ผิด เกิดขึ้นมาจากการใช้ตัวดำเนินการที่ผิด มากกว่าผิดที่ตรรก • พิจารณาการพิสูจน์ผิดๆ ของ2=1 • กำหนดให้ • a = b • a2 = ab เอา a ไปคูณทั้ง 2 ข้าง • a2 + a2 – 2ab = ab + a2 – 2abเอา a2 – 2abไปบวกทั้ง 2 ข้าง • 2(a2 – ab) = (a2 – ab)แยกตัวประกอบ และรวม term • 2 = 1 เอา (a2 – ab) หารทั้ง 2 ข้าง • ขั้นตอนไหนที่ผิดในการพิสูจน์ครั้งนี้ ??

  23. การพิสูจน์แบบมี Quantifiers • Rules of inference สามารถขยายไปใช้งานกับ statement ที่มี Quantifier ได้ • Universal Instantiation: ถ้ามีหลักฐานว่าxP(x) และc  UoD(universe of discourse), เราสามารถสรุปได้ว่าP(c) เป็นจริง • Universal Generalization:ถ้าสุ่มเลือก c ที่ซึ่ง c  UoD และแสดงได้ว่า P(c) เป็นจริงแล้ว xP(x) จะเป็นจริง • Existential Instantiation: ถ้ามีหลักฐานว่าxP(x) เป็นจริง, เราสามารถกำหนดค่าคงที่เช่น c โดยที่ c  UoDเราก็จะสามารถสรุปได้ว่าP(c) เป็นจริง • Existential Generalization: ถ้า P(c) เป็นจริงสำหรับ c ที่เจาะจง จะสามารถสรุปได้ว่า xP(x) เป็นจริง

  24. ตัวอย่าง: การพิสูจน์แบบมี Quantifier • จงแสดงว่าเมื่อรู้ว่า“A car in the garage has an engine problem”และ“Every car in the garage has been sold”สามารถสรุปได้ว่า“A car has been sold has an engine problem” • กำหนด • G(x): “x is in the garage” • E(x): “x has an engine problem” • S(x): “x has been sold” • Universe of discourse คือ รถทั้งหมด • ดังนั้นจะได้สมมุติฐานที่ว่า: • x (G(x)  E(x)) • x (G(x)  S(x)) • ข้อสรุปที่ต้องการคือx (S(x)  E(x))

  25. Proofs with Quantifiers: Example (2) • x (G(x)  E(x)) 1stpremise • (G(c)  E(c))(1)Existential Instantiation • G(c) (2) Simp • x (G(x)  S(x)) 2ndpremise • G(c)  S(c) (4) Universal Instantiation • S(c) (3),(5) MP • E(c) (2) Simp • S(c)  E(c) (6),(7) Conj • x (S(x)  E(x)) (8) Existential generalization

  26. ทำแบบฝึกหัดด้วยกันก่อนพักครึ่ง (1) • จากข้อความต่อไปนี้ มีการใช้rule of inference อะไรบ้าง • Alice is a mathematics major. Therefore, Alice is either amathematicsmajor or a computer sciencemajor. • Jerry is a mathematics major and a computer sciencemajor. Therefore, Jerry is a mathematics major. • If it is rainy, then the pool will be closed. It is rainy.Therefore, the pool is closed. • If it snows today, the university will close. The university is not closed today. Therefore, it did not snowtoday. • If I go swimming, then I will stay in the sun too long.If I stay in the sun too long, then Iwill sunburn. Therefore, if I go swimming, then I will sunburn.

  27. ทำแบบฝึกหัดด้วยกันก่อนพักครึ่ง (2) • จงหาขั้นตอนที่ผิดพลาดระหว่างการพิสูจน์ว่า if ∃xP(x) ∨∃xQ(x) is true then∃x(P(x) ∧ Q(x)) is true. • ∃xP(x) ∨∃xQ(x) Premise • ∃xP(x) Simplification from (1) • P(c) Existential instantiation from (2) • ∃xQ(x) Simplification from (1) • Q(c) Existential instantiation from (4) • P(c) ∧ Q(c) Conjunction from (3) and (5) • ∃x(P(x) ∧ Q(x)) Existential generalization

  28. วิธีการ Proofs • Trivial proofs • Vacuous proofs • Direct proofs • Proof by Contrapositive (indirect proof) • Proof by Contradiction (indirect proof, aka refutation) • Proof by Cases (sometimes using WLOG) • Proofs of equivalence • Existence Proofs (Constructive & Nonconstructive) • Uniqueness Proofs

  29. Trivial Proofs • ข้อสรุปเป็นจริงได้ โดยไม่จำเป็นต้องมีสมมุติฐาน • Trivial proof ใช้เมื่อข้อสรุปเป็นจริงเสมอ เช่นif q เป็นtrue, แล้วpqเป็นtrue • ตัวอย่าง: จงพิสูจน์ ถ้าx>0 แล้ว(x+1)2 – 2x  x2

  30. Vacuous Proofs • ถ้ารู้ว่า สมมุติฐานp เป็นเท็จ • แล้วสามารถสรุปได้ว่าpqเป็นจริงเสมอ • Vacuous proof เป็นการพิสูจน์ที่อยู่บนฐานข้อเท็จจริงที่ไม่มีค่าในขอบเขตที่กำหนดมาทำให้สมมุติฐานเป็นจริงได้ • ตัวอย่าง: • If x is a prime number divisible by 16, then x2 <0 (บางครั้งข้อสรุปที่ได้ก็ฝืนกับหลักความจริง)

  31. Direct Proofs • การพิสูจน์ที่เห็นในตัวอย่างมาตลอดเป็น directproofs • ในdirect proof • ต้องมีการกำหนดสมมุติฐาน p • ใช้ rules of inference ในการสรุปข้อมูลเป็นลำดับ • เพื่อจะแสดงให้ได้ว่าข้อสรุป q เป็นจริง • ตัวอย่าง: จงพิสูจน์ว่าถ้า n เป็นเลขคี่ แล้ว n2จะเป็นเลขคี่ • กำหนด n เป็นเลขคี่ สามารถแทนได้ด้วย n = 2k + 1, สำหรับทุกk ใน Z • n2= (2k + 1)2 = 4k2 + 2k + 1 = 2(2k2+ k)+1 • 2 คูณกับอะไรก็ได้เลขคู่ เมื่อ + 1 ก็เป็นเลขคี่

  32. Proof by Contrapositive (Indirect proof) • ทบทวนความจำว่า(pq)  (q p) • พื้นฐานของการพิสูจน์แบบ Indirect proof คือ • กำหนดให้ข้อสรุปเป็นเท็จ (q เป็นจริง) • จากนั้นใช้กฎต่างๆ ตามลำดับ • เพื่อแสดงให้เห็นว่าสมมุติฐานเป็นเท็จ (p เป็นจริง) • ตัวอย่าง : • จงพิสูจน์ว่า ถ้าx3 <0 แล้ว x<0 • contrapositive คือ“if x0 แล้วx3  0” • Proof • If x=0  x3=0  0 • If x>0  x2>0  x3>0

  33. Proof by Contrapositive: ตัวอย่าง • ตัวอย่าง:จงพิสูจน์ว่า “ถ้า 3n + 2 เป็นจำนวนคี่, แล้ว n เป็นจำนวนคี่” • สามารถแปลงประโยคได้เป็น ถ้า n เป็นจำนวนคู่ แล้ว 3n + 2 เป็นจำนวนคู่ • กำหนดให้ n เป็นจำนวนคู่ • เลขคู่สามารถแทนได้ด้วย n = 2k, สำหรับทุกk ใน Z • ดังนั้น 3n + 2 = 3(2k) + 2 = 6k+2 = 2(3k + 1) • 2 คูณกับจำนวนเต็มใดๆ จะได้ เป็นเลขคู่ • ดังนั้นประโยค “ถ้า3n + 2 เป็นจำนวนคี่, แล้ว n เป็นจำนวนคี่” เป็นจริง

  34. Proof by Contradiction • เพื่อที่จะพิสูจน์ว่า statement p เป็นtrue • จะต้องกำหนดให้ p เป็นเท็จก่อน • จากนั้นอนุมานตามขึ้นตอนเพื่อให้เกิดการขัดแย้งกันของข้อสรุป • ตัวอย่าง:จงพิสูจน์ว่า “ถ้า 3n + 2 เป็นจำนวนคี่, แล้ว n เป็นจำนวนคี่” • ในการพิสูจน์แบบ contradiction จะกลับผลสรุปและกำหนดให้ n เป็นจำนวนคู่ • เมื่อ n เป็นจำนวนคู่ หมายความว่า n = 2k, , สำหรับทุกk ใน Z • ดังนั้น 3n + 2 = 3(2k) + 2 = 6k +2 = 2(3k + 1) ซี่งเป็นเลขคู่ • จะเห็นว่า มีการขัดแย้งกับโจทย์ที่บอกว่า 3n + 2 เป็นเลขคี่ • ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า “ถ้า 3n + 2 เป็นจำนวนคี่, แล้ว n เป็นจำนวนคี่” เป็นจริง

  35. Proof by Cases • บางครั้งจะง่ายต่อการพิสูจน์theorem โดยการ • แบ่งส่วนของเป็นแต่ละcases • และพิสูจน์แยกอิสระต่อกัน • ตัวอย่าง :กำหนดn  Z. พิสูจน์ว่า9n2+3n-2 เป็นเลขคู่ • 9n2+3n-2= (3n + 2)(3n - 1) • ถ้า (3n + 2) เป็นเลขคู่ เลขคู่คูณกับอะไรก็ได้ผลเป็นเลขคู่ • ถ้า (3n + 2) เป็นเลขคี่ (3n – 1) ก็จะเป็นเลขคู่ เลขคู่คูณกับอะไรก็ได้ผลเป็นเลขคู่ • ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า 9n2+3n-2 เป็นเลขคู่

  36. Warm up ก่อนทำแบบฝึกหัด • จงใช้วิธี direct proof พิสูจน์ว่า “ผลบวกของเลขคี่ 2 ตัวให้ผลเป็นเลขคู่” • จงแสดงว่า “ถ้า n3 + 5 เป็นเลขคี่ แล้ว n เป็นเลขคู่” • ด้วยวิธี proof by contraposition • ด้วยวิธี proof by contradiction

  37. แบบฝึกหัดทำส่ง • จงใช้ rules of inference เพื่อแสดงว่า • ถ้า∀x(P(x) →(Q(x) ∧ S(x))) และ∀x(P(x) ∧ R(x)) เป็นจริงแล้ว ∀x(R(x) ∧ S(x)) เป็นจริง • จงพิสูจน์ว่า “n เป็นเลขคี่ ก็ต่อเมื่อ 5n + 6 เป็นเลขคี่” ในขอบเขต n เป็นจำนวนเต็มบวก • กำหนดให้ x เป็นจำนวนเต็มคู่ จงพิสูจน์ว่า • 3x + 2 เป็นเลขคู่ • x + 5 เป็นเลขคี่ • x2เป็นเลขคู่ • จงพิสูจน์ว่า ถ้า3n + 2 เป็นเลขคู่ แล้วn เป็นเลขคู่ ด้วยวิธี • proof by contraposition. • proof by contradiction.

More Related