1 / 47

หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้

File : obj_Law202.swf. หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้. ยินดีต้อนรับเข้าสู่ บทที่ 4 เจ้าของหลายคน. วัตถุประสงค์การเรียนรู้. นักศึกษาสามารถ ………… นักศึกษาสามารถ ………… นักศึกษาสามารถ ………… นักศึกษาสามารถ …………. แสดง Mascot และข้อความ.

Download Presentation

หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. File : obj_Law202.swf หัวเรื่อง : หน้าวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ยินดีต้อนรับเข้าสู่ บทที่ 4 เจ้าของหลายคน วัตถุประสงค์การเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ………… นักศึกษาสามารถ ………… นักศึกษาสามารถ ………… นักศึกษาสามารถ ………… • แสดงMascot และข้อความ สวัสดีครับนักศึกษา ยินดีต้อนรับนักศึกษาเข้าสู่บทที่ 4 เจ้าของหลายคนวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของบทนี้มีดังต่อไปนี้ครับ

  2. File : Law202_home.swf หัวเรื่อง : หน้าสารบัญบทที่ 2 สารบัญบท • 1.เจ้าของรวม • 2.กรรมสิทธิ์ในอาคารชุด  คลิกบทเรียนที่ต้องการศึกษา • คลิก1.เจ้าของรวมลิงค์ไป File : Law202_4_1.sw • คลิก 2.กรรมสิทธิ์ในอาคารชุด ลิงค์ไป • File : Law202_4_35.swf เสียง music background

  3. 3 File : Law202_U4_1.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม • ทรัพย์สินอย่างหนึ่งอาจมีเจ้าของคนเดียวหรือเจ้าของหลายคนก็ได้ • กรณีเจ้าของหลายคนนี้ อาจเป็นกรณีเจ้าของรวมซึ่งอยู่ในบังคับของ • มาตรา 1356– 1366 หรืออาจเป็นกรณีเจ้าของร่วมหรือกรรมสิทธิ์ • ในอาคารชุดซึ่งอยู่ในบังคับของ พระราชบัญญัติกรรมสิทธิ์อาคารชุด • พ.ศ. 2522 • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “... เป็นกรณีเจ้าของรวมซึ่งอยู่ในบังคับ ...” ปรากฎภาพ ทรัพย์สินอย่างหนึ่งอาจมีเจ้าของคนเดียวหรือเจ้าของหลายคนก็ได้ กรณีเจ้าของหลายคนนี้ อาจเป็นกรณีเจ้าของรวมซึ่งอยู่ในบังคับของมาตรา 1356– 1366 หรืออาจเป็นกรณีเจ้าของร่วมหรือกรรมสิทธิ์ในอาคารชุดซึ่งอยู่ในบังคับของ พระราชบัญญัติกรรมสิทธิ์อาคารชุด พ.ศ. 2522

  4. 4 File : Law202_U4_2.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม • 1.1 ความเบื้องต้น • 1.2 สิทธิของเจ้าของรวมแต่ละคน • 1.3 หน้าที่และความรับผิดของเจ้าของรวมแต่ละคน  คลิกบทเรียนที่ต้องการศึกษา • แสดงมาสคอตพร้อมเสียงบรรยายและข้อความ • คลิก ความเบื้องต้นปรากฏ file : Law202_4_3.swf • คลิก สิทธิของเจ้าของรวมแต่ละคน ปรากฏ File : Law202_4_9.swf • คลิก หน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าของรวมแต่ละคนปรากฏ File : Law202_4_31.swf สำหรับหัวข้อนี้นักศึกษาจะได้เรียนรู้เรื่องการเป็นเจ้าของรวม ว่ามีอะไรบ้างสามารถคลิก หัวข้อที่ต้องการศึกษาได้เลยครับ

  5. 5 File : Law202_U4_3.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.1ความเบื้องต้น • ในกรณีทรัพย์สินเป็นของบุคคลเดียว บุคคลนั้นย่อมใช้สิทธิตามมาตรา 1336ได้อย่างเต็มที่ แต่เมื่อทรัพย์สินนั้นเป็นของบุคคลหลายคนรวมกัน หากแต่ละบุคคลจะใช้สิทธิตามมาตรา 1336 เช่น หวงกันทรัพย์สินนั้นไว้ใช้แต่ผู้เดียวหรือจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินนั้นทั้งหมด ย่อมจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของรวมคนอื่นได้ • มาตรา 1356bบัญญัติว่า ถ้าทรัพย์สินเป็นของบุคคลหลายคนรวมกัน ท่านให้ใช้บทบัญญัติในหมวดนี้บังคับ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น • เริ่มพูด พร้อมแสดง Mascot และข้อความ • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “….ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นต้องมีหลักกฏหมาย….” ปรากฏข้อความที่ 2 ในกรณีทรัพย์สินเป็นของบุคคลเดียว บุคคลนั้นย่อมใช้สิทธิตามมาตรา1336 ได้อย่างเต็มที่ แต่เมื่อทรัพย์สินนั้นเป็นของบุคคลหลายคนรวมกัน หากแต่ละบุคคลจะใช้สิทธิตามมาตรา1336 เช่น หวงกันทรัพย์สินนั้นไว้ใช้แต่ผู้เดียวหรือจำหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินนั้นทั้งหมด ย่อมจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของรวมคนอื่นได้ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นต้องมีหลักกฎหมายเรื่องกรรมสิทธิ์รวมขึ้นมากำหนดขอบเขตของเจ้าของรวมแต่ละคนไม่ให้ใช้สิทธิกระทบกระเทือนถึงประโยชน์ของเจ้าของรวมคนอื่นมาตรา 1356จึงบัญญัติว่า ถ้าทรัพย์สินเป็นของบุคคลหลายคนรวมกัน ท่านให้ใช้บทบัญญัติในหมวดนี้บังคับ เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น

  6. 6 File : Law202_U4_4.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.1ความเบื้องต้น • กรณีใดมีกฎหมายบัญญัติเอาไว้เป็นอย่างอื่นก็ต้องใช้กฎหมายอื่นนั้นบังคับ • เช่น อาคารชุดต้องใช้ พระราชบัญญัติกรรมสิทธิ์อาคารชุด พ.ศ 2522 • มาบังคับ สินสมรสต้องนำมาตรา 1476– 1486มาใช้บังคับ ทรัพย์สิน • ที่เป็นมรดกให้นำมาตรา 1750 มาใช้บังคับ คือสามารถแบ่งทรัพย์สินได้ • โดยการครอบครองเป็นส่วนสัด คำว่าบุคคลในที่นี้อาจจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ได้ ในกรณีของนิติบุคคลนั้นหลายท่านอาจจะสงสัยว่านิติบุคคลจะครอบครองปรปักษ์ได้อย่างไร ในเมื่อนิติบุคคลนั้นเป็นเพียงบุคคลที่สมมุติขึ้น การครอบครองปรปักษ์ของนิติบุคลสามารถกระทำได้โดยผ่านผู้แทนของนิติบุคคลซึ่งเป็นบุคคลธรรมดานั้นเอง นักศึกษาสามารถเข้าไปดูตัวอย่างได้ครับ • ปรากฏข้อความพร้อมเสียงบรรยาย • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “ ….อาคารชุดต้องใช้พระราชบัญญัติ..” • ปรากฏอาคารชุด • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “….สินสมรสต้องนำมาตรา…” ปรากฏภาพ • เงินทอง ซ้อนขึ้นมา

  7. 7 File : Law202_U4_5.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.1ความเบื้องต้น • กรณีที่จะถือว่าเป็นกรรมสิทธิ์รวมหรือเจ้าของรวมนั้น ต้องเป็นกรณีที่บุคคลหลายคน • ต่างก็เป็นเจ้าของทรัพย์สินนั้นรวมกันในทุกโมเลกุลของทรัพย์สินนั้นโดยไม่ได้แยก • เป็นสัดส่วนว่าใครเป็นเจ้าของส่วนใดของทรัพย์สินนั้น โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คน • เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์แต่ได้จดทะเบียนบรรยายส่วนของใครไว้ในโฉนดแล้วว่า ของใคร • อยู่ตอนไหนเป็นจำนวนเนื้อที่เท่าไรชัดแจ้งแล้วเช่นนี้หาใช่เป็นเจ้าของรวมไม่ • (ฎีกาที่ 259/2495) กรณีที่จะถือว่าเป็นกรรมสิทธิ์รวมหรือเจ้าของรวมนั้น ต้องเป็นกรณีที่บุคคลหลายคน ต่างก็เป็นเจ้าของทรัพย์สินนั้นรวมกันในทุกโมเลกุลของทรัพย์สินนั้นโดยไม่ได้แยก เป็นสัดส่วนว่าใครเป็นเจ้าของส่วนใดของทรัพย์สินนั้น โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คน เป็นผู้ถือกรรมสิทธิ์แต่ได้จดทะเบียนบรรยายส่วนของใครไว้ในโฉนดแล้วว่า ของใคร อยู่ตอนไหนเป็นจำนวนเนื้อที่เท่าไรชัดแจ้งแล้วเช่นนี้หาใช่เป็นเจ้าของรวมไม่ (ฎีกาที่ 259/2495) • ปรากฏข้อความและเสียงบรรยาย • เมื่อถึงเสียงบรรยาย”…โฉนดที่ดินมีชื่อบุคคล 2 คนเป็นผู้ถือ • กรรมสิทธิ์….” ปรากฏภาพที่ดิน และ โฉนดที่ดิน

  8. 8 File : Law202_U4_6.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.1ความเบื้องต้น • การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์รวมหรือเจ้าของรวมนั้นอาจได้มาโดยนิติกรรม • หรือโดยผลของกฎหมายก็ได้ การได้กรรมสิทธิ์รวมมาโดยนิติกรรม • เช่น บุคคลหลายคนตกลงซื้อทรัพย์สินรวมกัน รับการให้ด้วยกัน • หรือแลกเปลี่ยนทรัพย์สินกับผู้อื่นด้วยกัน ตลอดจนเข้าเป็นหุ้นส่วน • ในการดำเนินธุรกิจอย่างใดอย่างหนึ่งทรัพย์สินที่ได้มาย่อมเป็นกรรม • สิทธิ์รวมของทุกคน Attach Document • ปรากฏข้อความพร้อมเสียงมาสคอต • เมื่อเสียงบรรยายถึง “…บุคคลหลายคนตกลงซื้อทรัพย์สิน…”ปรากฏภาพขึ้นมา • คลิก attach document ปรากฏ file attach 4_6_1 การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์รวมหรือเจ้าของรวมนั้นอาจได้มาโดยนิติกรรมหรือโดยผลของกฎหมายก็ได้ การได้กรรมสิทธิ์รวมมาโดยนิติกรรม เช่น บุคคลหลายคนตกลงซื้อทรัพย์สินรวมกัน รับการให้ด้วยกันหรือแลกเปลี่ยนทรัพย์สินกับผู้อื่นด้วยกัน ตลอดจนเข้าเป็นหุ้นส่วนในการดำเนินธุรกิจอย่างใดอย่างหนึ่งทรัพย์สินที่ได้มาย่อมเป็นกรรม สิทธิ์รวมของทุกคน

  9. 9 File : Law202_U4_7.wf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.1ความเบื้องต้น • กฎหมายในหมวดนี้อยู่ภายใต้ชื่อ “กรรมสิทธิ์รวม” ซึ่งอยู่ภายใต้ลักษณะ 2 ที่ใช้ชื่อว่า “กรรมสิทธิ์” • แต่ตัวบทมาตรา 1356 กลับใช้ถ้อยคำว่า “ทรัพย์สิน” จึงเกิดปัญหาว่า จะนำกฎหมายในหมวดนี้ • ไปใช้กับทรัพยสิทธิอย่างอื่น • กฎหมายในหมวดนี้ไปใช้กับทรัพยสิทธิอย่างอื่นหรือทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงไม่ได้ ก็น่าจะนำไป • ใช้ได้ในฐานะบทกฎหมายที่ใกล้เคียงกันอย่างยิ่งตามมาตรา 4 วรรคสอง • ปรากฏเสียงบรรยายพร้อม ข้อความ • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “...อย่างไรก็ตามกฏหมายในหมวดนี้ ...” ปรากฎข้อความแถวที่ 2 • คลิกลูกศรปรากฏ pop up 4_7_1 กฎหมายในหมวดนี้อยู่ภายใต้ชื่อ “กรรมสิทธิ์รวม” ซึ่งอยู่ภายใต้ลักษณะ 2 ที่ใช้ชื่อว่า “กรรมสิทธิ์” แต่ตัวบทมาตรา 1356 กลับใช้ถ้อยคำว่า “ทรัพย์สิน” จึงเกิดปัญหาว่า จะนำกฎหมายในหมวดนี้ไปใช้กับทรัพยสิทธิอย่างอื่น เช่น สิทธิอาศัยสิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ หรือลิขสิทธิ์ สิทธิบัตรเครื่องหมายการค้าได้หรือไม่ เพราะดูตามเจตนารมณ์แล้วกฎหมายในหมวดนี้น่าจะใช้กับกรรมสิทธิ์เท่านั้น อย่างไรก็ตามถึงแม้จะนำกฎหมายในหมวดนี้ไปใช้กับทรัพยสิทธิอย่างอื่นหรือทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงไม่ได้ ก็น่าจะนำไปใช้ได้ในฐานะบทกฎหมายที่ใกล้เคียงกันอย่างยิ่งตามมาตรา 4 วรรคสอง

  10. 10 File : pop up U4_7_1 หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา  ศาสตราจารย์ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช อธิบายว่า “จึงควรจะเข้าใจได้ว่าการมีทรัพยสิทธิอย่างอื่น นอกจากกรรมสิทธิ์รวมกันนั้น ย่อมใช้บทบัญญัติในลักษณะกรรมสิทธิ์รวมบังคับได้ เว้นแต่ จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น” • ปรากฏภาพ พร้อมด้วย ข้อความ • คลิก กาบาท ปรากฏ File : Law202_4_7.swf เพลงบรรเลง

  11. 11 File : Law202_U4_8.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.1ความเบื้องต้น • เมื่อรู้ว่าใครเป็นเจ้าของรวมกับใครแล้ว สิ่งที่ต้องรู้ต่อไปคือ ใครเป็นเจ้าของรวมในสัดส่วนเท่าใด เพราะเรื่องสัดส่วนของเจ้าของรวมมีผลกระทบโดยตรงต่อการใช้สิทธิของเจ้าของรวมแต่ละคน ไม่ว่าจะเป็นการใช้สิทธิใช้สอย สิทธิได้ดอกผล หรือสิทธิจำหน่ายจ่ายโอน • ในเรื่องของสัดส่วนของเจ้าของรวมนี้ มาตรา 1357 บัญญัติว่า ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้เป็นเจ้าของรวมกันมีส่วนเท่ากัน Attach Document • ปรากฏเสียงบรรยาย ภาพ พร้อมด้วย ข้อความ • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “...ในเรื่องของสัดส่วนของเจ้าของรวมนี้ ...” ปรากฎข้อความ แถวที่ 2 • คลิก Attach document ปรากฏ file attach 4_8_1 เมื่อรู้ว่าใครเป็นเจ้าของรวมกับใครแล้ว สิ่งที่ต้องรู้ต่อไปคือ ใครเป็นเจ้าของรวมในสัดส่วนเท่าใด เพราะเรื่องสัดส่วนของเจ้าของรวมมีผลกระทบโดยตรงต่อการใช้สิทธิของเจ้าของรวมแต่ละคน ไม่ว่าจะเป็นการใช้สิทธิใช้สอย สิทธิได้ดอกผล หรือสิทธิจำหน่ายจ่ายโอน ในเรื่องของสัดส่วนของเจ้าของรวมนี้ มาตรา ๑๓๕๗ บัญญัติว่า ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้เป็นเจ้าของรวมกันมีส่วนเท่ากัน

  12. 12 File : Law202_U4_9.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2 สิทธิของเจ้าของรวมแต่ละคน 1.2.1 สิทธิในการจัดการทรัพย์สิน 1.2.2 สิทธิใช้สอย 1.2.3 สิทธิได้ดอกผล 1.2.4 สิทธิจำหน่ายจ่ายโอน 1.2.5 สิทธิขัดขวางและสิทธิติดตามเอาคืน 1.2.6 สิทธิในการขอแบ่งทรัพย์สิน คลิกข้อความที่ต้องการศึกษา • เริ่มพูด พร้อมแสดง Mascot และข้อความ • คลิก สิทธิในการจัดการทรัพย์สินปรากฏ File : Law202_4_10.swf • คลิก สิทธิใช้สอยปรากฏ File : Law202_4_15.swf • คลิก สิทธิได้ดอกผล ปรากฏ File :Law202_4_18.swf • คลิก สิทธิจำหน่ายจ่ายโอนปรากฏ File : Law202_4_21.swf • คลิก สิทธิขัดขวางและสิทธิติดตามเอาคืนปรากฏ File : Law202_4_.24swf • คลิก สิทธิในการขอแบ่งทรัพย์สินปรากฏ File : Law202_4_26.swf สำหรับหัวข้อสิทธิของเจ้าของรวมแต่ละคนประกอบไปด้วยอะไรบ้างนั้น นักศึกษาสามารถคลิกหัวข้อที่ต้องการศึกษาที่ปรากฏบนหน้าจอได้เลยครับ

  13. 13 File : Law202_U4_10.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.1 สิทธิในการจัดการทรัพย์สิน • มาตรา1358 ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าของรวม • มีสิทธิจัดการทรัพย์สินรวมกัน ในเรื่องจัดการตามธรรมดา ในเรื่องจัดการอันเป็นสาระสำคัญ คลิกข้อความที่ต้องการศึกษา สิทธิในการจัดการทรัพย์สินตามมาตรา 1358 ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าของรวม มีสิทธิจัดการทรัพย์สินรวมกัน มี 2 กรณีคือ ในเรื่องจัดการตามธรรมดา และในเรื่อง จัดการอันเป็นสาระสำคัญการเปลี่ยนแปลงวัตถุที่ประสงค์นั้น ท่านว่าจะตกลงกันได้ก็แต่ เมื่อเจ้าของรวมเห็นชอบทุกคน • เริ่มพูด พร้อมแสดงข้อความ • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “…มี 2 กรณ๊คือ …” ปรากฏข้อความ ในกรอบทั้ง 2 ข้อความ • คลิกในเรื่องจัดการตามธรรมดา ปรากฏข้อความ 1 • คลิก ในเรื่องจัดการอันเป็นสาระสำคัญ ปรากฏข้อความ 2 • คลิกลูกศร ปรากฏ file :Law202_4_10.swf ข้อความ 1 ในเรื่องจัดการตามธรรมดา ท่านว่าพึงตกลงโดยคะแนนข้างมากแห่งเจ้าของรวม แต่เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ อาจทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งในทางจัดการตามธรรมดาได้ เว้นแต่ฝ่ายข้างมากได้ตกลงไว้เป็นอย่างอื่น แต่เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ อาจทำการเพื่อรักษาทรัพย์สินได้เสมอ ข้อความ 2 ในเรื่องจัดการอันเป็นสาระสำคัญ ท่านว่าต้องตกลงกันโดยคะแนนข้างมากแห่งเจ้าของรวม และคะแนนข้างมากนั้นต้องมีส่วนไม่ต่ำกว่าครึ่งหนึ่ง แห่งค่าทรัพย์สิน

  14. 14 File : Law202_U4_11.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.1 สิทธิในการจัดการทรัพย์สิน • เจ้าของรวมแต่ละคนเป็นเจ้าของทุกโมเลกุลในทรัพย์สิน จึงมีสิทธิที่จะจัดการทรัพย์สิน • ของตนอย่างไรก็ได้ การปล่อยให้เจ้าของรวมแต่ละคนจัดการทรัพย์สินได้ตามอำเภอใจ • โดยไม่ฟังหรือปรึกษาเจ้าของรวมคนอื่นย่อมจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของรวมคน • อื่นได้ง่าย • มาตรา 1358 จึงให้สันนิษฐานว่า เจ้าของรวมมีสิทธิจัดการทรัพย์สินรวมกัน เพื่อให้เจ้า • ของรวมสามารถควบคุมกันได้ตามสมครวร แต่ถ้าได้ตกลงกันหรือมีกฎหมายกำหนดไว้ • เป็นอย่างอื่นก็ต้องเป็นไปตามนั้น Attach Document ศาสตราจารย์ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช อธิบายถึงการจัดการทรัพย์สินว่า “การใช้เอาประโยชน์ จากทรัพย์สิน เช่น มีที่นาใช้ทำนา มีม้าใช้ขับขี่ ฤาจะเอาทรัพย์สินเช่นนั้นให้คนอื่นเช่าเพื่อ ได้เงินค่าเช่า ก็เป็นเรื่องจัดการเหมือนกัน” เนื่องจากเจ้าของรวมแต่ละคนเป็นเจ้าของทุก โมเลกุลในทรัพย์สิน จึงมีสิทธิที่จะจัดการทรัพย์สินของตนอย่างไรก็ได้ การปล่อยให้เจ้า ของรวมแต่ละคนจัดการทรัพย์สินได้ตามอำเภอใจโดยไม่ฟังหรือปรึกษาเจ้าของรวมคน อื่นย่อมจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของรวมคนอื่นได้ง่าย ด้วยเหตุนี้วรรคหนึ่งแห่ง มาตรา 1358 จึงให้สันนิษฐานว่า เจ้าของรวมมีสิทธิจัดการทรัพย์สินรวมกัน เพื่อให้เจ้า ของรวมสามารถควบคุมกันได้ตามสมครวร แต่ถ้าได้ตกลงกันหรือมีกฎหมายกำหนดไว้ เป็นอย่างอื่นก็ต้องเป็นไปตามนั้น เช่น จัดการสินสมรสก็ต้องอยู่ในบังคับของมาตรา 1476 ถึง 1486 ในการจัดการทรัพย์สินรวมกันมาตรา 1358ได้กำหนดหลักการ ใหญ่ๆ เอาไว้ในวรรค2ถึง 4 • ปรากฏภาพพร้อมเสียงบรรยายและข้อความในบรรทัดแรก • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “….ด้วยเหตุนี้วรรคหนึ่งแห่งมาตรา 1358…..” ปรากฏข้อความในบรรทัดที่ 2 • คลิก Attach document ปรากฏ file attach 4_11_1

  15. File : Law202_U4_12.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.1 สิทธิในการจัดการทรัพย์สิน • การเปลี่ยนแปลงวัตถุที่ประสงค์ คือ การเปลี่ยนจุดมุ่งหมายของการ • เป็นเจ้าของรวมในทรัพย์สินนั้นซึ่งการเปลี่ยนแปลงจุดมุ่งหมายหรือ • วัตถุประสงค์นี้ต้องตกลงกันด้วยความเห็นชอบของเจ้าของรวมทุกคน การเปลี่ยนแปลงวัตถุที่ประสงค์ คือ การเปลี่ยนจุดมุ่งหมายของการเป็นเจ้าของรวม ในทรัพย์สินนั้น เช่น แต่เดิมซื้อตึกแถวมาโดยมีจุดมุ่งหมายหาผลประโยชน์มาแบ่ง กัน ต่อมาในภายหลังต้องการเปลี่ยนจุดมุ่งหมายเอาตึกแถวมาไว้เป็นที่อยู่อาศัย การเปลี่ยนแปลงจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์นี้ต้องตกลงกันด้วยความเห็นชอบของ เจ้าของรวมทุกคน • ปรากฏเสียงบรรยาย พร้อมข้อความ • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “…เช่น แต่เดิมซื้อตึกแถว..” ปรากฏภาพ

  16. File : Law202_U4_13.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.1 สิทธิในการจัดการทรัพย์สิน การรักษาทรัพย์สิน หมายถึง “การกระทำในทางสงวนไว้ ซึ่งถ้าไม่ทำ ทรัพย์สินอาจบุบสลายศูนย์สิ้นไปใช้ทำประโยชน์ต่อไปไม่ได้ เช่นน้ำท่วมนาต้องทำทำนบกั้นไว้มิให้เข้าไปท่วมข้าวในนา บ้านจะพังใช้เสาจุนไว้ ม้าเจ็บจะตายเรียกแพทย์มารักษา เหล่านี้เป็นต้น” การรักษาทรัพย์สิน หมายถึง “การกระทำในทางสงวนไว้ ซึ่งถ้าไม่ทำ ทรัพย์สิน อาจบุบสลายศูนย์สิ้นไปใช้ทำประโยชน์ต่อไปไม่ได้ เช่นน้ำท่วมนาต้องทำทำนบ กั้นไว้มิให้เข้าไปท่วมข้าวในนา บ้านจะพังใช้เสาจุนไว้ ม้าเจ็บจะตายเรียกแพทย์ มารักษา เหล่านี้เป็นต้น” • ปรากฏข้อความ ภาพ พร้อมเสรยงบรรยาย • เมื่อเสียงบรรยายถึง “….บ้านจะพังใช้เสาจุนไว้…”ปรากฏลูกศร • คลิกลูกศรปรากฏ file : Law202_4_14.swf

  17. File : Law202_U4_14.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.1 สิทธิในการจัดการทรัพย์สิน • การรักษาทรัพย์สินนั้นแตกต่างไปจากการจัดการทรัพย์สิน เพราะการรักษาทรัพย์สินมีแต่จะก่อให้เกิดประโยชน์ แก่เจ้าของรวมทุกคนไม่ทำให้เจ้าของรวมคนใดคนหนึ่งเสียหายแต่อย่างใด ซึ่งแตกต่างไปจากการจัดการทรัพย์สิน หากไม่มีการควบคุมดูแลกันบ้างแล้วมักก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของรวมคนอื่นได้ ด้วยเหตุนี้ตอนท้ายแห่ง วรรคสองของมาตรา ๑๓๕๘ จึงกำหนดให้เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ อาจทำการเพื่อรักษาทรัพย์สินได้เสมอ การบอก เลิกการเช่าตึกแถวก็ถือเป็นการทำเพื่อรักษาทรัพย์สินเช่นกัน (ฎีกาที่ 7509/2524) เพลงบรรเลง • เพลงบรรเลงพร้อมข้อความ

  18. 18 File : Law202_U2_15.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.2 สิทธิใช้สอย มาตรา 1360 วรรคหนึ่ง เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิใช้ทรัพย์สินได้ แต่การใช้นั้นต้อง ไม่ขัดต่อสิทธิแห่งเจ้าของรวมคนอื่นๆ • ปรากฏมาสคอต เสียง พร้อมด้วยข้อความ • คลิกลูกศร ปรากฏ file :Law202_4_10.swf มาถึงเรื่องของสิทธิใช้สอย ตามมาตรา 1360 วรรคหนึ่ง เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิใช้ทรัพย์สินได้ แต่การใช้นั้นต้องไม่ขัดต่อสิทธิแห่งเจ้าของรวมคนอื่นๆ

  19. 19 File : Law202_U2_16.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.2 สิทธิใช้สอย “การจัดการตามมาตรา 1358 ใช้สำหรับกรณีที่จะสงวนกรรมสิทธิ์รวมไว้ และจัดการทำประโยชน์ เอามาแบ่งกัน แต่มาตรา 1360 เป็นเรื่องต่างคนต่างจะใช้เอาประโยชน์จากตัวทรัพย์สินนั้นเพื่อ ตนเอง เช่น่ ถ้าเป็นเจ้าของม้ารวมกัน เป็นปัญหาว่า จะเก็บไว้ใช้เอง ฤาจะให้คนอื่นเช่า เช่นนี้ ต้อง บังคับตามมาตรา 1358 แต่ถ้าตกลงกันว่าจะเอาไว้ใช้เองใครจะใช้ได้เมื่อไร เก็บรักษาไว้กับใคร เป็นปัญหาตามมาตรา 1360” • เริ่มพูด พร้อมแสดง Mascot และภาพ • ปรากฏข้อความ โดยให้ข้อความขึ้นมาทีละบรรทัดให้สอดคล้องกับเสียงบรรยาย ศาสตราจารย์ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช อธิบายว่าการจัดการตามมาตรา 1358 ใช้สำหรับกรณีที่จะสงวนกรรมสิทธิ์รวมไว้ และจัดการทำประโยชน์เอามาแบ่งกัน แต่มาตรา 1360 เป็นเรื่องต่างคนต่างจะใช้เอาประโยชน์จากตัวทรัพย์สินนั้นเพื่อตนเอง เช่น่ ถ้าเป็นเจ้าของม้ารวมกัน เป็นปัญหาว่า จะเก็บไว้ใช้เอง ฤาจะให้คนอื่นเช่า เช่นนี้ ต้องบังคับตามมาตรา 1358 แต่ถ้าตกลงกันว่าจะเอาไว้ใช้เองใครจะใช้ได้เมื่อไร เก็บรักษาไว้กับใครเป็นปัญหาตามมาตรา 1360

  20. File : Law202_U2_17.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.2 สิทธิใช้สอย • เพื่อให้เจ้าของรวมทุกคนมีสิทธิใช้สอยทรัพย์สินนั้นด้วยกัน วรรคหนึ่งแห่งมาตรา 1360 จึงต้องกำหนดให้การใช้ทรัพย์สินนั้นต้องไม่ขัดต่อสิทธิแห่งเจ้าของรวมคนอื่น การใช้ทรัพย์ สินที่ไม่ขัดต่อสิทธิของเจ้าของรวมคนอื่น คือการแบ่งกันใช้ตามสัดส่วนแห่งการเป็นเจ้าของรวม เนื่องด้วยเจ้าของรวมแต่ละคนเป็นเจ้าของในทุกโมเลกุลของทรัพย์สิน เจ้าของรวมแต่ละ คนจึงมีสิทธิใช้สอยทรัพย์สินทั้งหมดรวมกัน และเพื่อให้เจ้าของรวมทุกคนมีสิทธิใช้สอย ทรัพย์สินนั้นด้วยกัน วรรคหนึ่งแห่งมาตรา 1360 จึงต้องกำหนดให้การใช้ทรัพย์สินนั้น ต้องไม่ขัดต่อสิทธิแห่งเจ้าของรวมคนอื่น การใช้ทรัพย์สินที่ไม่ขัดต่อสิทธิของเจ้าของรวม คนอื่น คือการแบ่งกันใช้ตามสัดส่วนแห่งการเป็นเจ้าของรวมนั่นเอง ซึ่งอาจจะเป็นการ แบ่งพื้นที่การใช้ เช่น มีที่นา 10 ไร่ แบ่งกันทำคนละ 5ไร่ หรืออาจจะเป็นการแบ่งเวลา กันใช้ เช่น แบ่งกันทำนาคนละปีหรือคนละครึ่งปีเป็นต้น • ปรากฏเสียงบรรยายพร้อมข้อความ • เมื่อเสียงบรรยายถึง “…. การใช้ทรัพย์สินที่ไม่ขัดต่อสิทธิของเจ้าของรวม…..” ปรากฏภาพ • คลิก ลูกศร ปรากฏ file : Law202_2_18.swf

  21. File : Law202_U2_17.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.2 สิทธิใช้สอย • แต่ถ้าเจ้าของรวมคนหนึ่งเอาทรัพย์สินไว้ใช้สอยแต่เพียงผู้เดียวไม่ให้ผู้อื่นใช้ เจ้าของรวมคนอื่นไม่มีสิทธิฟ้องร้องขับไล่ เพราะเจ้าของรวมคนนั้นยึดถือทรัพย์สินไว้โดยมีสิทธิตามมาตรา 1336 (ฎีกาที่ 579 /2525) เจ้าของรวมคนอื่นชอบแต่ จะฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนตามมูลละเมิดตามมาตรา 420 และขอแบ่งทรัพย์ตามมาตรา 1363--1364 อย่างไรก็ตาม ถึงแม้เจ้าของรวมคนหนึ่งจะใช้สอยทรัพย์สินนั้นเพียงแต่ผู้เดียวแต่มิได้หวงกันมิให้เจ้าของรวมคนอื่นมาใช้ด้วย ไม่ถือเป็น ละเมิดตามมาตรา 420 (ฎีกาที่ 997/2505) เพลงบรรเลง • เพลงบรรเลงพร้อมข้อความ

  22. File : Law202_U2_18.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.3 สิทธิได้ดอกผล มาตรา 1360 วรรคสอง ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิได้ดอกผล ตามส่วนของตนที่มีในทรัพย์สินนั้น มาตรา 1360 วรรคสอง ท่านให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าเจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิได้ดอกผล ตามส่วนของตนที่มีในทรัพย์สินนั้น • ปรกฏมาสคอต เสียงบรรยาย พร้อมข้อความ โดยให้ข้อความ ที่ปรากฏ สัมพันธ์กับเสียงบรรยาย • คลิกลูกศร ปรากฏ file :Law202_4_10.swf

  23. 23 File : Law202_U4_19.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.3 สิทธิได้ดอกผล • ตามมาตรา 1336 เจ้าของทรัพย์สินย่อมมีสิทธิในดอกผลไม่ว่าจะเป็นดอกผลธรรมดาหรือ ดอกผลนิตินัย ดังนั้น เมื่อมีบุคคลหลายคนมาเป็นเจ้าของทรัพย์สินรวมกันในสัดส่วนอย่างไร ก็ชอบที่จะเป็นเจ้าของดอกผลในสัดส่วนอย่างนั้น • วรรคสองแห่งมาตรา 1360 จึงให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิได้ดอกผล ตามส่วนของตนที่มีอยู่ในทรัพย์สินนั้น แต่ถ้าได้มีการตกลงหรือมีกฎหมายกำหนดเอาไว้เป็น อย่างอื่น ก็ต้องเป็นไปตามนั้น • เริ่มพูด พร้อมแสดงข้อความ วรรคแรก • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “…ด้วยเหตุนี้ วรรคสองแห่งมาตรา..” ปรากฏ ข้อความฝนวรรคที่สองพร้อมทั้งปรากฏภาพ ตามมาตรา1336 เจ้าของทรัพย์สินย่อมมีสิทธิในดอกผลไม่ว่าจะเป็นดอกผลธรรมดาหรือดอกผลนิตินัย ดังนั้น เมื่อมีบุคคลหลายคนมาเป็นเจ้าของทรัพย์สินรวมกันในสัดส่วนอย่างไร ก็ชอบที่จะเป็นเจ้าของดอกผลในสัดส่วน่อย่างนั้น ด้วยเหตุนี้ วรรคสองแห่งมาตรา1360 จึงให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิได้ดอกผลตามส่วนของตนที่มีอยู่ในทรัพย์สินนั้น แต่ถ้าได้มีการตกลงหรือมีกฎหมายกำหนดเอาไว้เป็นอย่างอื่น ก็ต้องเป็นไปตามนั้น

  24. 24 File : Law202_U4_20.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.3 สิทธิได้ดอกผล • เจ้าของรวมคนหนึ่งถือเอาดอกผลไว้แต่ผู้เดียวไม่ยอมแบ่งเจ้าของรวมคนอื่น เจ้าของรวมผู้ได้รับความเสียหายย่อมฟ้องร้องบังคับให้คืนส่วนของตนพร้อม เรียกค่าเสียหายได้ตามมูลละเมิดตามมาตรา 420 และ 438 • ปรากฏข้อความ เสียงบรรยายพร้อมด้วยรูปภาพ เจ้าของรวมคนหนึ่งถือเอาดอกผลไว้แต่ผู้เดียวไม่ยอมแบ่งเจ้าของรวมคนอื่น เจ้าของรวมผู้ได้รับความเสียหายย่อมฟ้องร้องบังคับให้คืนส่วนของตนพร้อมเรียกค่าเสียหายได้ตามมูลละเมิดตามมาตรา 420 และ 438

  25. 25 File : Law202_U4_21.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.4สิทธิจำหน่ายจ่ายโอน • มาตรา 1361 เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ จะจำหน่ายส่วนของตนหรือจำนอง หรือก่อให้เกิดภาระติดพันก็ได้ • ถ้าเจ้าของรวมคนใดจำหน่าย จำนำ จำนอง หรือก่อให้เกิดภาระติดพัน ทรัพย์สินโดยมิได้รับความยินยอมแห่งเจ้าของรวมทุกคน แต่ภายหลัง เจ้าของรวมคนนั้นได้เป็นเจ้าของทรัพย์สินแต่ผู้เดียวไซร้ ท่านว่านิติ กรรมนั้นเป็นอันสมบูรณ์ Attach Document • ปรากฏมาสคอต พร้อมเสียงบรรยายและข้อความวรรคแรก • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “… ถ้าเจ้าของรวมคนใดจำหน่าย ..”ปรากฏข้อความวรรคที่สอง • คลิก attach document ปรากฏ file attach 2_21_1 • คลิกลูกศร ปรากฏ file :Law202_4_10.swf มาตรา1361 เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ จะจำหน่ายส่วนของตนหรือจำนอง หรือก่อให้เกิดภาระติดพันก็ได้แต่ตัวทรัพย์สินนั้นจะจำหน่าย จำนำ จำนอง หรือก่อให้เกิดภาระติดพันได้ ก็แต่ด้วยความยินยอมแห่งเจ้าของรวมทุกคน ถ้าเจ้าของรวมคนใดจำหน่าย จำนำ จำนอง หรือก่อให้เกิดภาระติดพันทรัพย์สินโดยมิได้รับความยินยอมแห่งเจ้าของรวมทุกคน แต่ภายหลังเจ้าของรวมคนนั้นได้เป็นเจ้าของทรัพย์สินแต่ผู้เดียวไซร้ ท่านว่านิติกรรมนั้นเป็นอันสมบูรณ์

  26. File : Law202_U4_22.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.4สิทธิจำหน่ายจ่ายโอน • มาตรา 1361 วรรคสองยังกำหนดให้การก่อให้เกิด ทรัพยสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ ของผู้อื่น การจำนอง การจำนำซึ่งมีส่วนของเจ้าของรวมคนอื่นอยู่ด้วยต้องได้รับ ความยินยอมจากเจ้าของรวมทั้งหมดจึงจะกระทำได้ • ความยินยอมนั้นจะเป็นความยินยอมโดยตรงหรือโดยปริยายจะทำเป็นหนังสือ หรือโดยวาจาก็ได้ เช่น เจ้าของรวมคนอื่นรู้แล้วไม่คัดค้าน ถือว่ายินยอม (ฎีกาที่ 591/2508) หรือมีพฤติการณ์ชัดแจ้งว่าเจ้าของรวมคนหนึ่งมีอำนาจกระทำได้ สัญญานั้นย่อมสมบูรณ์ (ฎีกาที่ 79/2506) มาตรา 1361 วรรคสองยังกำหนดให้การก่อให้เกิด ทรัพยสิทธิในอสังหาริมทรัพย์ ของผู้อื่น การจำนอง การจำนำซึ่งมีส่วนของเจ้าของรวมคนอื่นอยู่ด้วยต้องได้รับ ความยินยอมจากเจ้าของรวมทั้งหมดจึงจะกระทำได้ความยินยอมนั้นจะเป็นความยิน ยอมโดยตรงหรือโดยปริยายจะทำเป็นหนังสือหรือโดยวาจาก็ได้ เช่น เจ้าของรวมคน อื่นรู้แล้วไม่คัดค้าน ถือว่ายินยอม (ฎีกาที่591/2508) หรือมีพฤติการณ์ชัดแจ้งว่าเจ้าของ รวมคนหนึ่งมีอำนาจกระทำได้สัญญานั้นย่อมสมบูรณ์ (ฎีกาที่ 79/2506) • ปรากฏเสียงบรรยายและข้อความวรรคแรก • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “… ความยินยอมนั้นจะเป็นความยินยิมโดยตรง ..”ปรากฏข้อความวรรคที่สองพร้อมด้วยรูปภาพ

  27. File : Law202_U4_23.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.4สิทธิจำหน่ายจ่ายโอน • วรรคสามแห่งมาตรา 1361 ได้กำหนดให้นิติกรรมนั้นเป็นอันสมบูรณ์ไม่เป็นโมฆะ • และบังคับชำระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงได้ • ปรากฏเสียงบรรยายและข้อความพร้อมภาพ วรรคสามแห่งมาตรา 1361 ได้กำหนดให้นิติกรรมนั้นเป็นอันสมบูรณ์ไม่เป็นโมฆะ และบังคับชำระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงได้ ถึงแม้นิติกรรมจำหน่าย จำนำ จำนอง หรือ ก่อให้เกิดภาระติดพันทรัพย์สินของเจ้าของรวมโดยมิได้รับความยินยอมจากเจ้าของ รวมทุกคนจะมีผลเป็นโมฆะหรือบังคับชำระหนี้โดยเฉพาะเจาะจงไม่ได้ แต่ถ้าหาก ภายหลังเจ้าของรวมผู้ทำสัญญานั้นได้เป็นเจ้าของทรัพย์สินแต่ผู้เดียว

  28. File : Law202_U4_24.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.5สิทธิขัดขวางและสิทธิติดตามเอาคืน • มาตรา 1359 เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ อาจใช้สิทธิอันเกิดแต่กรรมสิทธิ์ครอบ ไปถึงทรัพย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอก แต่ในการเรียกร้องเอาทรัพย์สิน คืนนั้น ท่านว่าต้องอยู่ในบังคับแห่งเงื่อนไขที่ระบุไว้ในมาตรา 302 แห่ง ประมวลกฎหมายนี้ • ปรากฏมาสคอต พร้อมด้วยเสียงบรรยายและข้อความ • คลิกลูกศร ปรากฏ file :Law202_4_10.swf มาตรา 1359 เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ อาจใช้สิทธิอันเกิดแต่กรรมสิทธิ์ครอบ ไปถึงทรัพย์สินทั้งหมดเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอก แต่ในการเรียกร้องเอาทรัพย์สิน คืนนั้น ท่านว่าต้องอยู่ในบังคับแห่งเงื่อนไขที่ระบุไว้ในมาตรา 302 แห่ง ประมวลกฎหมายนี้

  29. File : Law202_U4_25.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.5สิทธิขัดขวางและสิทธิติดตามเอาคืน • มาตรา 1336 การใช้สิทธิเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอกตามมาตรานี้ คือการใช้สิทธิ ในเชิงต่อสู้เพื่อรักษาสภานภาพเดิมของตนเอาไว้ อันได้แก่การใช้สิทธิขัดขวาง และสิทธิติดตามเอาคืน • มาตรา 1359 กำหนดให้เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ สามารถใช้สิทธิในเชิงต่อสู้ได้ โดยลำพังไม่ต้องขอความยินยอมจากเจ้าของรวมคนอื่น ด้วยการใช้สิทธิขัดขวาง นั้นย่อมเห็นได้ชัดว่าเป็นการใช้สิทธิเพื่อประโยชน์ของเจ้าของรวมคนอื่นด้วย Attach Document • ปรากฏเสียงบรรยายและข้อความวรรคแรก • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “…การรักษาทรัพย์สินด้วยเหตุนี้…”ปรากฏข้อความวรรคที่ 2 พร้อมภาพ • คลิกattach document ปรากฏ file attach 2_25_1 การใช้สิทธิเพื่อต่อสู้บุคคลภายนอกตามมาตรานี้ คือการใช้สิทธิในเชิงต่อสู้เพื่อรักษา สภานภาพเดิมของตนเอาไว้ อันได้แก่การใช้สิทธิขัดขวางและสิทธิติดตามเอาคืน ตามมาตรา 1336 นั่นเอง เมื่อเจ้าของรวมแต่ละคนมีกรรมสิทธิ์ในทุกโมเลกุลของ ทรัพย์สิน เจ้าของรวมแต่ละคนนั้นจึงสามารถใช้สิทธิในเชิงต่อสู้ครอบไปถึงทรัพย์ สินทั้งหมดที่ตนเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยได้ การใช้สิทธิในเชิงต่อสู้นี้มีแต่จะก่อให้ เกิดประโยชน์แก่เจ้าของรวมคนอื่นในทำนองเดียวกับการรักษาทรัพย์สิน ด้วยเหตุนี้ มาตรา 1359 จึงกำหนดให้เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ สามารถใช้สิทธิในเชิงต่อสู้ได้โดย ลำพังไม่ต้องขอความยินยอมจากเจ้าของรวมคนอื่น ด้วยการใช้สิทธิขัดขวางนั้นย่อม เห็นได้ชัดว่าเป็นการใช้สิทธิเพื่อประโยชน์ของเจ้าของรวมคนอื่นด้วย

  30. File : Law202_U4_26.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.6สิทธิในการขอแบ่งทรัพย์สิน • มาตรา 1363 เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิเรียกให้แบ่งทรัพย์สินได้ เว้นแต่จะมีนิติกรรมขัดอยู่ หรือถ้าวัตถุที่ประสงค์ที่เป็นเจ้าของรวมกัน นั้นมีลักษณะเป็นการถาวร ก็เรียกให้แบ่งไม่ได้ • มาตรา1364 การแบ่งทรัพย์สินพึงกระทำโดยแบ่งทรัพย์สินนั้นเอง ระหว่างเจ้าของรวม หรือโดยขายทรัพย์สินแล้วเอาเงินที่ขายได้แบ่งกัน มาตรา ๑๓๖๓ เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิเรียกให้แบ่งทรัพย์สินได้ เว้นแต่จะมีนิติ กรรมขัดอยู่ หรือถ้าวัตถุที่ประสงค์ที่เป็นเจ้าของรวมกันนั้นมีลักษณะเป็นการถาวร ก็เรียกให้แบ่งไม่ได้สิทธิเรียกให้แบ่งทรัพย์สินนั้น ท่านว่าจะตัดโดยนิติกรรมเกินคราว ละสิบปีไม่ได้ท่านว่าเจ้าของรวมจะเรียกให้แบ่งทรัพย์สินในเวลาที่ไม่เป็นโอกาสอัน ควรไม่ได้มาตรา ๑๓๖๔ การแบ่งทรัพย์สินพึงกระทำโดยแบ่งทรัพย์สินนั้นเองระหว่าง เจ้าของรวม หรือโดยขายทรัพย์สินแล้วเอาเงินที่ขายได้แบ่งกัน ถ้าเจ้าของรวมไม่ตกลง กันว่าจะแบ่งทรัพย์สินอย่างไรไซร้ เมื่อเจ้าของรวมคนหนึ่งคนใดขอ ศาลอาจสั่งให้ เอาทรัพย์สินนั้นออกแบ่ง ถ้าส่วนที่แบ่งให้ไม่เท่ากันไซร้ จะสั่งให้ทดแทนกันเป็นเงิน ก็ได้ ถ้าแบ่งเช่นว่านี้ไม่อาจทำได้หรือจะเสียหายมากนักก็ดี ศาลจะสั่งให้ขายโดย ประมูลราคากันระหว่างเจ้าของรวมหรือขายทอดตลาดก็ได้ • ปรากฏมาสคอต พร้อมด้วยเสียงบรรยายและข้อความ • เมื่อถึงเสียงยรรยาย “…โอกาสอันควรไม่ได้มาตรา 1364 การแบ่งทรัพย์สิน..” ปรากฏข้อความวรรคที่สอง • คลิกลูกศร ปรากฏ file :Law202_4_10.swf

  31. File : Law202_U4_27.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.6สิทธิในการขอแบ่งทรัพย์สิน • วรรคหนึ่งแห่งมาตรา 1363กำหนดเป็นหลักไว้ว่า เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิเรียก ให้แบ่งทรัพย์สินได้เสมอ • สิทธิเรียกร้องขอแบ่งทรัพย์สินนี้เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิเรียกร้องได้เสมอไม่มี อายุความและจะไปนำอายุความในทางหนี้หรือมรดกมาเทียบเคียงใช้ไม่ได้ (ฎีกาที่ 1367 /2509, ฎีกาที่ 504/2509) Attach Document • ปรากฏเสียงบรรยายพร้อมภาพ • เมื่อถึงเสียงยรรยาย “… การบังคับให้เจ้าของรวมทุกคน..” ปรากฏข้อความวรรคแรก • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “…. ซึ่งสิทธิเรียกร้องขอแบ่งทรัพย์สินนี้..”ปรากฏข้อความวรรคสอง • คลิก attach document ปรากฏ file attach 4_27_1 การแบ่งปันผลประโยชน์หรือค่าใช้จ่ายในระหว่างเจ้าของรวม้ด้วยกันเองจะเป็นไปได้ อย่างเรียบร้อย ต่อเมื่อเจ้าของรวมทุกคนยังมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันเพียงแต่มีเจ้าของ รวมคนใดคนหนึ่งเห็นแก่ตัวเสาะแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินนั้นเพื่อตนเองแต่ ผู้เดียวย่อมเป็นสาเหตุที่จะให้เจ้าของรวมคนอื่นๆ แยกทางเดิน และการบังคับให้เจ้าขอ งรวมทุกคนยังต้องอยู่ด้วยกันต่อไป ย่อมมีแต่จะก่อให้เกิดความเสียหายและความไม่ เป็นธรรม วรรคหนึ่งแห่งมาตรา 1363 จึงกำหนดเป็นหลักไว้เลยว่า เจ้าของรวมคน หนึ่งๆ มีสิทธิเรียกให้แบ่งทรัพย์สินได้เสมอ ซึ่งสิทธิเรียกร้องขอแบ่งทรัพย์สินนี้เจ้าของ รวมคนหนึ่งๆ มีสิทธิเรียกร้องได้เสมอไม่มีอายุความและจะไปนำอายุความในทางหนี้ หรือมรดกมาเทียบเคียงใช้ไม่ได้

  32. File : Law202_U4_28.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.6สิทธิในการขอแบ่งทรัพย์สิน • มาตรา 1364 วรรค1 จึงกำหนดให้การแบ่งทรัพย์สินพึงกระทำโดยแบ่งทรัพย์สินกันเอง ระหว่างเจ้าของรวม การตกลงแบ่งกันเองระหว่างเจ้าของรวมนี้จะตกลงแบ่งกันด้วยวิธีใด ก็ได้ • ถ้าเป็นที่ดินต้องมีแผนที่ประกอบหรือมีการแบ่งการครอบครอง มีแนวเขตที่ดินชัดเจน บันทึกข้อตกลงแบ่งทรัพย์กรรมสิทธิ์รวมที่ไม่สามารถกำหนดได้แน่นอนว่าแบ่งกันจุด ไหนยังใช้บังคับไม่ได้ (ฎีกาที่ 625/2533) • ข้อตกลงแบ่งทรัพย์สินระหว่างเจ้าของรวมนี้กฎหมายมิได้กำหนดแบบ จะทำกันโดย วาจาก็ได้ ถึงแม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือก็ฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ (ฎีกาที่ 3415/2524) • ข้อตกลงแบ่งทรัพย์สินกันเข้าลักษณะสัญญาประนีประนอมยอมความก็ต้องมีหลักฐาน เป็นหนังสือจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ตามมาตรา 851(ฎีกาที่ 318/2456, 1319/2512) • ปรากฏเสียงบรรยายพร้อมข้อความวรรคแรก • เมื่อถึงเสียงยรรยาย “… ถ้าเป็นที่ดินต้องมีแผนที่ประกอบ..” ปรากฏข้อความวรรคที่ 2 • เมื่อถถึงเสียงบรรยาย “… ข้อตกลงแบ่งทรัพย์สินระหว่างเจ้าของ…” ปรากฏข้อความวรรคสาม • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “… ข้อตกลงแบ่งทรัพย์สินกัน….”ปรากฏข้อความวรรคสี่ มาตรา 1364 วรรค1 จึงกำหนดให้การแบ่งทรัพย์สินพึงกระทำโดยแบ่งทรัพย์สินกันเอง ระหว่างเจ้าของรวม การตกลงแบ่งกันเองระหว่างเจ้าของรวมนี้จะตกลงแบ่งกันด้วยวิธีใด ก็ได้ ถ้าเป็นที่ดินต้องมีแผนที่ประกอบหรือมีการแบ่งการครอบครอง มีแนวเขตที่ดินชัดเจน บันทึกข้อตกลงแบ่งทรัพย์กรรมสิทธิ์รวมที่ไม่สามารถกำหนดได้แน่นอนว่าแบ่งกันจุด ไหนยังใช้บังคับไม่ได้ (ฎีกาที่ 625/2533) ข้อตกลงแบ่งทรัพย์สินระหว่างเจ้าของรวมนี้กฎหมายมิได้กำหนดแบบ จะทำกันโดย วาจาก็ได้ ถึงแม้ไม่มีหลักฐานเป็นหนังสือก็ฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ (ฎีกาที่ 3415/2524) ข้อตกลงแบ่งทรัพย์สินกันเข้าลักษณะสัญญาประนีประนอมยอมความก็ต้องมีหลักฐาน เป็นหนังสือจึงจะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ตามมาตรา 851(ฎีกาที่ 318/2456, 1319/2512)

  33. File : Law202_U4_29.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.6สิทธิในการขอแบ่งทรัพย์สิน • ความจริงน่าจะถือว่าการแบ่งทรัพย์สินรวมแม้ใครจะได้ตรงไหน ก็มิใช่การประนีประนอมยอมความ เพราะมิได้เป็นการระงับข้อ พิพาทแต่อย่างใด เป็นเพียงการตกลงแบ่งตามสิทธิของเจ้าของ รวมแต่ละคนต่างหาก เว้นเสียแต่ว่าได้มีข้อพิพาทเกิดขึ้นแล้ว โดยฝ่ายหนึ่งขอให้แบ่ง แต่อีกฝ่ายไม่ยอม หรือฝ่ายหนึ่งจะเอาตรง ส่วนไหน แต่อีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอม หากหลังจากนั้นจึงมาตกลงกัน เช่นนี้ย่อมจะถือเป็นการประนีประนอมยอมความได้ เพราะการ ตกลงครั้งหลังเป็นการระงับข้อพิพาทโดยต่างยอมผ่อนผันให้แก่กัน • ปรากฏเสียงบรรยายพร้อมภาพ • เมื่อถึงเสียงยรรยาย “… เป็นเพียงการตกลงแบ่งตามสิทธิ..” ปรากฏข้อความ ศาสตรจารย์บัญญัติ สุชีวะ กล่าวว่าความจริงน่าจะถือว่าการแบ่งทรัพย์สินรวมแม้ใคร จะได้ตรงไหนก็มิใช่การประนีประนอมยอมความ เพราะมิได้เป็นการระงับข้อ พิพาทแต่อย่างใด เป็นเพียงการตกลงแบ่งตามสิทธิของเจ้าของ รวมแต่ละคนต่างหาก เว้นเสียแต่ว่าได้มีข้อพิพาทเกิดขึ้นแล้ว โดยฝ่ายหนึ่งขอให้แบ่ง แต่อีกฝ่ายไม่ยอม หรือฝ่ายหนึ่งจะเอาตรง ส่วนไหน แต่อีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอม หากหลังจากนั้นจึงมาตกลงกัน เช่นนี้ย่อมจะถือเป็นการประนีประนอมยอมความได้ เพราะการ ตกลงครั้งหลังเป็นการระงับข้อพิพาทโดยต่างยอมผ่อนผันให้แก่กัน

  34. File : Law202_U4_30.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.2.6สิทธิในการขอแบ่งทรัพย์สิน • ข้อตกลงแบ่งอสังหาริมทรัพย์ หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษตามมาตรา 1364 เจ้าของรวมแต่ละคนจะได้กรรมสิทธิ์ก็ต่อเมื่อทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนกับ พนักงานเจ้าหน้าที่ก่อน Attach Document • ปรากฏเสียงบรรยายพร้อมภาพ • เมื่อถึงเสียงยรรยาย “… เป็นเพียงการตกลงแบ่งตามสิทธิ..” ปรากฏข้อความ • คลิก attach document ปรากฏ file attach 4_30_1 ศาสตรจารย์บัญญัติ สุชีวะ กล่าวว่าความจริงน่าจะถือว่าการแบ่งทรัพย์สินรวมแม้ใคร จะได้ตรงไหนก็มิใช่การประนีประนอมยอมความ เพราะมิได้เป็นการระงับข้อ พิพาทแต่อย่างใด เป็นเพียงการตกลงแบ่งตามสิทธิของเจ้าของ รวมแต่ละคนต่างหาก เว้นเสียแต่ว่าได้มีข้อพิพาทเกิดขึ้นแล้ว โดยฝ่ายหนึ่งขอให้แบ่ง แต่อีกฝ่ายไม่ยอม หรือฝ่ายหนึ่งจะเอาตรง ส่วนไหน แต่อีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอม หากหลังจากนั้นจึงมาตกลงกัน เช่นนี้ย่อมจะถือเป็นการประนีประนอมยอมความได้ เพราะการ ตกลงครั้งหลังเป็นการระงับข้อพิพาทโดยต่างยอมผ่อนผันให้แก่กัน

  35. File : Law202_U4_31.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.3 หน้าที่และความรับผิดของเจ้าของรวมแต่ละคน 1.3.1 ภาระ ค่าใช้จ่ายที่เป็นประโยชน์ร่วมกันต้องช่วยกันออกตามส่วน 1.3.2 ต้องรับผิดอย่างผู้ขาย  คลิกบทเรียนที่ต้องการศึกษา สำหรับหน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าของรวมแต่ละคนนั้น เราสามารถที่จะแยกออกมา ได้ตามหัวข้อที่ปรากฏบนหน้าจอ นักศึกษาสามารถคลิกในข้อหัวที่ต้องการได้เลยครับ • ปรากฏมาสคอต พร้อม เสียงบรรยายและข้อความ

  36. File : Law202_U4_31.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.3.1 ภาระ ค่าใช้จ่ายที่เป็นประโยชน์ร่วมกันต้องช่วยกันออกตามส่วน • มาตรา 1362เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ จำต้องช่วยเจ้าของรวมคนอื่นๆ ตามส่วนของตนใน • การออกค่าจัดการ ค่าภาษีอากร และค่ารักษา กับทั้งค่าใช้ทรัพย์สินรวมกันด้วย • มาตรา1365 ถ้าเจ้าของรวมต้องรับผิดร่วมกันต่อบุคคลภายนอกในหนี้อันเกี่ยวกับทรัพย์ • สินรวม หรือในหนี้ซึ่งได้ก่อขึ้นใหม่เพื่อชำระหนี้เดิมดั่งว่านั้นก็ดี ในเวลาแบ่งเจ้าของรวม • คนหนึ่งๆ จะเรียกให้เอาทรัพย์สินรวมนั้นชำระหนี้เสียก่อน หรือให้เอาเป็นประกันก็ได้ Attach Document มาตรา 1362 เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ จำต้องช่วยเจ้าของรวมคนอื่นๆ ตามส่วนของตน ในการออกค่าจัดการ ค่าภาษีอากร และค่ารักษา กับทั้งค่าใช้ทรัพย์สินรวมกันด้วย มาตรา 1365 ถ้าเจ้าของรวมต้องรับผิดร่วมกันต่อบุคคลภายนอกในหนี้อันเกี่ยวกับ ทรัพย์สินรวม หรือในหนี้ซึ่งได้ก่อขึ้นใหม่เพื่อชำระหนี้เดิมดั่งว่านั้นก็ดี ในเวลาแบ่ง เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ จะเรียกให้เอาทรัพย์สินรวมนั้นชำระหนี้เสียก่อน หรือให้เอาเป็น ประกันก็ได้ • ปรากฏเสียงบรรยายและภาพพร้อมข้อความวรรคแรก • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “….. มาตรา 1365 ถ้าเจ้าของรวมต้องรับผิดร่วมกัน…” ปรากฏข้อความในวรรคที่สอง • คลิก attach document ปรากฏ file attach 4_31_1

  37. File : Law202_U4_32.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.3.1 ภาระ ค่าใช้จ่ายที่เป็นประโยชน์ร่วมกันต้องช่วยกันออกตามส่วน • ถ้าหนี้สินตามมาตรา1362 ติดค้างอยู่ยังไม่ชำระหรือชำระแล้วแต่การชำระนั้นได้ก่อ • ให้เกิดหนี้ใหม่เช่น ไปกู้ยืมเงินธนาคารมาชำระหนี้ ดังนี้ ในเวลาที่จะมีการขอแบ่งทรัพย์ • สินรวม เจ้าของรวมคนหนึ่งคนใดอาจจะเรียกให้แบ่งทรัพย์สินรวมบางส่วนหรือทั้งหมด • มาชำระหนี้ดังกล่าวก่อนได้ หรือจะเรียกให้เอาทรัพย์สินที่แบ่งนั้นมาเป็นประกันหนี้นั้น • ก็ได้ในกรณีหนี้นั้นยังไม่ถึงกำหนดชำระ ตามมาตรา1365 ถ้าหนี้สินตามมาตรา1362 ติดค้างอยู่ยังไม่ชำระหรือชำระแล้วแต่การชำระนั้นได้ก่อ ให้เกิดหนี้ใหม่เช่น ไปกู้ยืมเงินธนาคารมาชำระหนี้ ดังนี้ ในเวลาที่จะมีการขอแบ่งทรัพย์ สินรวม เจ้าของรวมคนหนึ่งคนใดอาจจะเรียกให้แบ่งทรัพย์สินรวมบางส่วนหรือทั้งหมด มาชำระหนี้ดังกล่าวก่อนได้ หรือจะเรียกให้เอาทรัพย์สินที่แบ่งนั้นมาเป็นประกันหนี้นั้น ก็ได้ในกรณีหนี้นั้นยังไม่ถึงกำหนดชำระ ตามมาตรา1365และต้องไม่ลืมว่าสิทธิในการ เรียกเอาทรัพย์สินรวมไปใช้ชำระหนี้บุคคลภายนอกหรือเอาไปเป็นหลักประกันนั้นจะ กระทำได้หรือมีได้เฉพาะในเวลาที่มีการขอแบ่งทรัพย์สินรวมกันเท่านั้น และเป็นสิทธิ ของเจ้าของรวมไม่ใช่สิทธิของเจ้าหนี้ เพราะเจ้าหนี้ซึ่งเป็นบุคคลภายนอกนั้น เมื่อหนี้ ถึงกำหนดเมื่อใดเขาก็มีสิทธิเรียกให้เจ้าของรวมซึ่งเป็นลูกหนี้ชำระหนี้ได้เมื่อนั้น โดย ไม่ต้องคำนึงว่าจะมีการแบ่งทรัพย์สินรวมกันแล้วหรือยัง จะยังไม่แบ่งหรือแบ่งแล้ว เจ้าหนี้ก็ยังมีสิทธิฟ้องร้องบังคับให้ชำระหนี้ได้ทั้งสิ้น • ปรากฏเสียงบรรยายและภาพ • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “….. หรือจะเรียกให้เอาทรัพย์สินที่แบ่งนั้น….” ปรากฏข้อความขึ้นมา

  38. File : Law202_U4_33.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.3.1 ภาระ ค่าใช้จ่ายที่เป็นประโยชน์ร่วมกันต้องช่วยกันออกตามส่วน • มาตรา 1365 วรรค2 เป็นเรื่องหนี้สินระหว่างเจ้าของรวมด้วยกันไม่ใช่หนี้สินกับบุคคลภายนอก ซึ่งเป็นกรณีที่เจ้า • ของรวมคนใดคนหนึ่งได้ออกค่าใช้จ่ายตามมาตรา 1362ไปก่อน หรือได้ชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกสำหรับหนี้ซึ่ง • ได้ก่อขึ้นใหม่เพื่อชำระหนี้ตามมาตรา 1362และมาตรา 1365 วรรค 2 ก็ได้กำหนดเอาไว้ในทำนองเดียวกันกับ • วรรค 1 ว่าในเวลาแบ่งเจ้าของรวมผู้เป็นเจ้าหนี้มีสิทธิจะเรียกเอาทรัพย์สินในส่วนซึ่งจะได้แก่เจ้าของรวมผู้เป็นลูกหนี้ • ของตนมาชำระหนี้ตนเสียก่อน หรือให้เอามาเป็นประกันก็ได้ในกรณีที่หนี้ยังไม่ถึงกำหนดชำระ แต่ต้องไม่ลืมว่าจะ • เรียกเอาได้แต่ทรัพย์สินในส่วนของเจ้าของรวมที่เป็นลูกนี้ตนเท่านั้น จะไปเอาทรัพย์สินในส่วนของเจ้าของรวมที่ไม่ • ได้เป็นลูกหนี้ตนไม่ได้ Attach Document มาตรา 1365 วรรค2 เป็นเรื่องหนี้สินระหว่างเจ้าของรวมด้วยกันไม่ใช่หนี้สินกับบุคคล ภายนอก ซึ่งเป็นกรณีที่เจ้าของรวมคนใดคนหนึ่งได้ออกค่าใช้จ่ายตามมาตรา 1362 ไปก่อน หรือได้ชำระหนี้แก่บุคคลภายนอกสำหรับหนี้ซึ่งได้ก่อขึ้นใหม่เพื่อชำระหนี้ ตามมาตรา 1362และมาตรา 1365 วรรค 2 ก็ได้กำหนดเอาไว้ในทำนองเดียวกันกับ วรรค 1 ว่าในเวลาแบ่งเจ้าของรวมผู้เป็นเจ้าหนี้มีสิทธิจะเรียกเอาทรัพย์สินในส่วนซึ่งจะ ได้แก่เจ้าของรวมผู้เป็นลูกหนี้ของตนมาชำระหนี้ตนเสียก่อน หรือให้เอามาเป็นประกันก็ ได้ในกรณีที่หนี้ยังไม่ถึงกำหนดชำระ แต่ต้องไม่ลืมว่าจะเรียกเอาได้แต่ทรัพย์สินในส่วน ของเจ้าของรวมที่เป็นลูกนี้ตนเท่านั้น จะไปเอาทรัพย์สินในส่วนของเจ้าของรวมที่ไม่ ได้เป็นลูกหนี้ตนไม่ได้ • ปรากฏเสียงบรรยายและข้อความ • คลิก attach document ปรากฏ file attach 4_33_1

  39. File : Law202_U4_34.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 1.เจ้าของรวม 1.3.2 ต้องรับผิดอย่างผู้ขาย • มาตรา 1366เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ ต้องรับผิดตามส่วนของตนเช่นเดียวกับผู้ขาย • ในทรัพย์สินซึ่งเจ้าของรวมคนอื่นๆ ได้รับไปในการแบ่ง • มาตรา 1366เป็นกรณีที่ได้มีการแบ่งทรัพย์สินรวมกันเรียบร้อยแล้ว แต่ปรากฎว่า • ทรัพย์สินส่วนของเจ้าของรวมคนใดคนหนึ่งถูกรอนสิทธิ Attach Document มาตรา 1366เจ้าของรวมคนหนึ่งๆ ต้องรับผิดตามส่วนของตนเช่นเดียวกับผู้ขาย ในทรัพย์สินซึ่งเจ้าของรวมคนอื่นๆ ได้รับไปในการแบ่ง มาตรา 1366เป็นกรณีที่ได้มีการแบ่งทรัพย์สินรวมกันเรียบร้อยแล้ว แต่ปรากฎว่า ทรัพย์สินส่วนของเจ้าของรวมคนใดคนหนึ่งถูกรอนสิทธิ เช่น ปรากฎเป็นที่ดินของคนอื่น หรือติดภาระจำยอมหรือชำรุดบกพร่อง เช่น ทรัพย์สินที่แบ่งนั้นเน่าเสีย มาตรานี้จึง ต้องกำหนดให้เจ้าของรวมคนอื่นเข้ามารับผิดตามส่วนในทำนองเดียวกันกับผู้ขาย มิฉะนั้นแล้วเจ้าของรวมที่ได้รับแบ่งทรัพย์สินส่วนที่ถูกรอนสิทธิหรือชำรุดบกพร่องจะ เสียเปรียบเจ้าของรวมคนอื่นซึ่งไม่เป็นธรรม • ปรากฏเสียงบรรยายและข้อความ พร้อมด้วยภาพ • คลิก attach document ปรากฏ file attach 4_34_1

  40. File : Law202_U4_35.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 2.กรรมสิทธิ์ในอาคารชุด 2.กรรมสิทธิ์ในอาคารชุด 2.1 เหตุผลที่ต้องมีกรรมสิทธิ์ในอาคารชุด 2.2 หลักการสำคัญของกรรมสิทธิ์อาคารชุด  คลิกบทเรียนที่ต้องการศึกษา สำหรับกรรมสิทธิ์ในอาคารชุดนั้น ประกอบไปด้วยหัวข้อที่ปรากฏบนหน้าจอนักศึกษา สามารถคลิกหัวข้อที่ต้องการได้เลยครับ • ปรากฏมาสคอต เสียงบรรยายและข้อความ • คลิก 2.1 เหตุผลที่ต้องมีกรรมสิทธิ์ในอาคารชุด ปรากฏ File Law202_4_36.swf • คลิก 2.2 หลักหารสำคัญของกรรมสิทธิ์อาคารชุด ปรากฏ File Law202_4_37.swf

  41. File : Law202_U4_36.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 2.กรรมสิทธิ์ในอาคารชุด 2.1 เหตุผลที่ต้องมีกรรมสิทธิ์ในอาคารชุด ในเมืองใหญ่ๆ ที่ดินมีราคาแพงมากความจำเป็นที่จะต้องสร้างตึกสูงๆ เพื่อให้คนสามารถ อยู่รวมกันเป็นจำนวนมากในพื้นที่เล็กน้อยยิ่งมีมากขึ้นเรื่อยๆ สมมุติว่าอาคารหนึ่งมีห้อง ชุดอยู่ 100 ห้องชุด มีคนสามารถเข้ามาเป็นเจ้าของรวมกันอยู่ได้ 100 คน ถ้าจะเอาหลัก เจ้าของรวมที่ถือว่าคนทั้ง 100 คนเป็นเจ้าของรวมกันในทุกโมเลกุลมาใช้กับที่ดินและ อาคารชุดย่อมมีปัญหา เพราะแต่ละห้องชุดก็จะมีคนทั้ง 100 คนเป็นเจ้าของรวมกันอยู่ เสมอ การที่บุคคลใดจะไปอยู่ในห้องใดหรือการจะเอาห้องชุดที่ตนอยู่ไปจำนองหรือขาย ก็ล้วนแต่จะต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของรวมคนอื่นอีก 99 คน การดูแลสิ่งอำนวย ความสะดวกในอาคารชุดนั้นก็มีปัญหา เมื่อการนำหลักเจ้าของรวมมาใช้กับอาคารชุด ไม่สามารถแก้ไขปัญหาให้บุคคลที่จะเข้ามาเป็นเจ้าของอาคารชุดสามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างปกติสุขหรือได้อย่างดี จึงจำเป็นต้องหาหลักกฎหมายใหม่มาใช้แทน ในที่สุด นักปราชญ์กฎหมายก็คิดหลักกฎหมายใหม่ที่จะมาใช้กับอาคารชุดได้อย่างเหมาะสม ก็คือหลักกฎหมายเรื่องกรรมสิทธิ์ในอาคารชุด • ปรากฏเสียงบรรยาย • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “… สมมุติว่าอาคารหนึ่งมีห้อง • ชุดอยู่ 100 ห้องชุด …”ปรากฏภาพแรก • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “… เพราะแต่ละห้องชุดก็จะมีคนทั้ง 100 คนเป็นเจ้าของรวมกัน…” ปรากฏภาพที่สอง • เมื่อถึงเสียงบรรยาย “… ในที่สุดนักปราชญ์กฎหมายก็คิด….” ปรากฏภาพที่สาม

  42. File : Law202_U4_37.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา 2.กรรมสิทธิ์ในอาคารชุด 2.2 หลักการสำคัญของกรรมสิทธิ์อาคารชุด 2.2.1 หลักการให้มีทรัพย์ส่วนบุคคลและทรัพย์ส่วนกลาง 2.2.2 นิติบุคคลอาคารชุด 2.2.3 วัตถุประสงค์และระเบียบข้อบังคับ 2.2.4 กรรมสิทธิ์ในอาคารชุดนี้เหมือนกับการจำลองการปกครองตนเองส่วนท้องถิ่น  คลิกบทเรียนที่ต้องการศึกษา หลักกฎหมายในเรื่องกรรมสิทธิ์อาคารชุดนี้ประเทศไทยได้นำมาใช้ในปี พ.ศ. 2522 โดยตราออกเป็น พ.ร.บ. กรรมสิทธิ์อาคารชุด พ.ศ. ๒๕๒๒ หลักการกรรมสิทธิ์ใน อาคารชุดนั้นมีขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ • ปรากฏเสียงบรรยายและข้อความ • คลิก 2.1 ปรากฏ Pop up 4_37_1 • คลิก 2.2 ปรากฏ Pop up 4_37_2 • คลิก 2.3 ปรากฏ Pop up 4_37_3 • คลิก 2.4 ปรากฏ Pop up 4_37_3

  43. File : Pop up U4_37_1 หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา  หลักการให้มีทรัพย์ส่วนบุคคลและทรัพย์ส่วนกลาง และทั้งสองต้องอยู่ด้วยกันตลอดไป อาคารชุดโดยทั่วไป แล้วก็จะกำหนดให้แต่ละห้องชุดเป็นทรัพย์ส่วนบุคคล ซึ่งอาจรวมที่จอดรถหรือสวนหย่อมขนาดเล็กก็ได้ ส่วนตัวโครงสร้างอาคารที่ดินถนนหนทางสาธารณูปโภคต่างๆ ก็ให้ถือเป็นทรัพย์ส่วนบุคคลนั้นก็แต่ละคน เป็นเจ้าของกันไปส่วนทรัพย์ส่วนกลางที่ทุกคนเป็นเจ้าของรวมกันอย่างในกรณีอาคารชุดที่มีห้องชุดอยู่ 100 ห้องชุด ขาวก็อาจเป็นเจ้าของทรัพย์ส่วนบุคคลห้องชุดที่ 1 และในขณะเดียวกันก็เป็นเจ้าของรวมใน ทรัพย์ส่วนกลาง 1/100 เป็นต้น เพลงบรรเลง • ปรากฏเสียงบรรเลงและข้อความ • คลิก กาบาท ปรากฏ File:Law202_4_37.swf

  44. File : Pop up U4_37_2 หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา  นิติบุคคลอาคารชุดจะเป็นบุคคลที่เข้ามาจัดการในเรื่องดูแลรักษาทรัพย์ส่วนกลางแทนเจ้าของรวมทั้งหมด นิติบุคคลอาคารชุดนอกจากจะทำหน้าที่ปฏิบัติการดูแลทรัพย์ส่วนกลางและทุกสิ่งทุกอย่างในอาคารชุดให้ เรียบร้อยนอกจากนี้นิติบุคคลอาคารชุดยังคอยดูแลให้บุคคลต่างๆ ปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับ ของอาคารชุดด้วย ถ้ามีการฝ่าฝืนและมีการกำหนดเบี้ยปรับเอาไว้นิติบุคคลอาคารชุดมีสิทธิฟ้องร้องเอาได้ บุคคลที่จะเข้ามาดูแลบริหารนิติบุคคลอาคารชุดนี้ได้แก่กรรมการอาคารชุดซึ่งเกิดขึ้นจากการเลือกตั้งของผู้ ที่มาอยู่ในอาคารชุดทั้งหมด เพลงบรรเลง • ปรากฏเสียงบรรเลงและข้อความ • คลิก กาบาท ปรากฏ File:Law202_4_37.swf

  45. File : Pop up U4_37_3  วัตถุประสงค์และระเบียบข้อบังคับ เพื่อให้คนมาอยู่ร่วมกันในอาคารชุดสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุข ต้องมีวัตถุประสงค์ของอาคารชุดว่ามีไว้เพื่ออยู่อาศัยหรือมีไว้เป็นโรงงาน หรือไว้เป็นสำนักงาน นอกจาก นี้ยังต้องมีระเบียบที่เหมาะสมของอาคารชุดที่มีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน ระเบียบข้อบังคับนี้ต้องมีการ กำหนดไว้ด้วยว่าถ้าฝ่าฝืนจะต้องจ่ายเบี้ยปรับเท่าใด เพราะมิเช่นนั้นแล้วจะมีปัญหาว่า เมื่อมีผู้ฝ่าฝืนระเบียบ หรือในทางแพ่งเรียกว่าทำผิดสัญญาการฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายผู้ฟ้องจะต้องพิสูจน์ว่าเสียหายเท่าไหร่ซึ่ง เป็นเรื่องยุ่งยากระเบียบข้อบังคับเหล่านี้ก็สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ด้วยเสียงข้างมากของผู้เป็นเจ้าของ อาคารชุดทั้งหมด เพลงบรรเลง • ปรากฏเสียงบรรเลงและข้อความ • คลิก กาบาท ปรากฏ File:Law202_4_37.swf

  46. File : Pop up U4_37_4  กรรมสิทธิ์ในอาคารชุดนี้เหมือนกับการจำลองการปกครองตนเองส่วนท้องถิ่นขนาดย่อมมา ผู้บริหารนิติบุคคล อาคารชุดก็เหมือนผู้นำชุมชน ค่าใช้จ่ายรายเดือนที่เจ้าของอาคารชุดต้องจ่ายให้นิติบุคคลอาคารชุดก็เหมือนกับ ภาษีทรัพย์สิน ส่วนระเบียบข้อบังคับก็เหมือนกับเทศบัญญัติ ผู้อยู่ในอาคารชุดจะเข้าใจระบบประชาธิปไตย อย่างแท้จริงเพราะได้ผู้นำที่ไม่ดีมาก็เสียค่าใช้จ่ายรายเดือนมาก แต่ถ้าได้ผู้นำดีก็จะเสียค่าใช้จ่ายน้อยและได้ บริการดี ทุกวันนี้ได้มีการเสนอให้เอานิติบุคคลอาคารชุดไปใช้กับบ้านจัดสรรเป็นนิติบุคคลหมู่บ้าน และให้ สาธารณูปโภคทั้งหลายมาอยู่เป็นกรรมสิทธิ์ของนิติบุคคลหมู่บ้านไป อันจะช่วยแก้ไขปัญหาหมู่บ้านจัดสรรที่ มีอยู่เป็นจำนวนมาก เพลงบรรเลง • ปรากฏเสียงบรรเลงและข้อความ • คลิก กาบาท ปรากฏ File:Law202_4_37.swf

  47. File : Law202_U4_38.swf หัวเรื่อง : หน้าเนื้อหา • ปรากฏเสียงบรรยายและมาสคอต สำหรับนักศึกษาท่านใดที่ต้องการเข้าไปทบทวนก็สามารถกลับเข้าไปเรียนรู้อีกครั้งได้ นะครับ

More Related