1 / 25

production.doae.go.th

http:// production.doae.go.th. การบันทึกข้อมูล. การบันทึกข้อมูลลงในระบบโปรแกรมรายงานภาวะการผลิตพืชนั้นเป็นหน้าที่ของ สำนักงานเกษตรอำเภอ ซึ่งการบันทึกข้อมูลลงในระบบมีขั้นตอน ดังนี้ ( http://production.doae.go.th)

Download Presentation

production.doae.go.th

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. http://production.doae.go.th

  2. การบันทึกข้อมูล การบันทึกข้อมูลลงในระบบโปรแกรมรายงานภาวะการผลิตพืชนั้นเป็นหน้าที่ของสำนักงานเกษตรอำเภอ ซึ่งการบันทึกข้อมูลลงในระบบมีขั้นตอน ดังนี้ (http://production.doae.go.th) ขั้นตอนที่ 1Login เข้าระบบ ตามชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านของอำเภอ และเลือกปีที่บันทึกข้อมูล คลิกปุ่ม เข้าสู่ระบบ

  3. การบันทึกข้อมูล(ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 เข้าเมนูกรอบบัญชีรายชื่อพืช เลือกจัดการพืชบังคับ/พืชทางเลือก

  4. การบันทึกข้อมูล(ต่อ) เข้าเมนูกรอบบัญชีรายชื่อพืช เลือกจัดการพืชบังคับ/พืชทางเลือก (พืชบังคับเลือกเฉพาะพืชที่มีปลูกในอำเภอ พืชทางเลือก เลือกจัดเก็บได้ตามความต้องการของพื้นที่) -> เพิ่มข้อมูลพืชบังคับ หรือพืชทางเลือก

  5. รต.01 , รต.02 เช่น ข้าว, พืชไร่, พืชผัก เป็นต้น เช่น ข้าวนาปี, กก, ต้นหอม เช่น ข้าวชัยนาท 1, มันสำปะหลัง KU กก., ต้น, ใบ, ตร.ม., ดอก

  6. การบันทึกข้อมูล(ต่อ) แสดงผลจากการเลือกกรอบบัญชีพืชบังคับ และพืชทางเลือก

  7. การบันทึกข้อมูล(ต่อ) ขั้นตอนที่ 3 การบันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบ หลังจากเลือกพืชที่มีปลูกในอำเภอเรียบร้อยแล้ว -> เลือกบันทึกข้อมูล -> เลือกบันทึก รต.01 หรือ รต.02

  8. การบันทึกข้อมูล(ต่อ) เลือกเดือนบันทึกข้อมูล (คลิ๊กเลือกแสดงข้อมูล)

  9. การบันทึกข้อมูล(ต่อ) เลือกพืชที่มีปลูกจริงในเดือนที่จะบันทึกข้อมูล (ระบบจะให้เลือกจากกรอบพืชใน ขั้นตอนที่ 2) เลือกพืชประจำเดือน –> (คลิ๊กเลือกในช่องสี่เหลี่ยม) -> บันทึกข้อมูล

  10. การบันทึกข้อมูล(ต่อ) แสดงผลจากการเลือก และทำการบันทึกข้อมูลต่อไป ส่งออกเป็น Excel คลิกปุ่มเพิ่มข้อมูล เลือกเพื่อบันทึกข้อมูลตามชนิดพืช และตำบล

  11. รต.01 การบันทึกข้อมูล(ต่อ) การกรอกข้อมูลในเดือนที่เลือก - ระบบจะดึงข้อมูลของเดือนที่ผ่านมาแสดง เพื่อช่วยในการตรวจสอบความสัมพันธ์ของข้อมูล - ระบบจะทำการตรวจสอบความแนบนัยของข้อมูล เช่น หากมีการระบุเนื้อที่เก็บเกี่ยวผลผลิต จะต้องกรอกผลผลิตรวมที่เก็บเกี่ยวได้ และกรอกข้อมูลราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยด้วย - กรณีลบข้อมูลพืช รต.01 เนื้อที่ยืนต้น ณ วันสิ้นเดือน เท่ากับ 0 - เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จสิ้น -> กดปุ่มบันทึกข้อมูล

  12. การบันทึกข้อมูล(ต่อ) การกรอกข้อมูลในเดือนที่เลือก - ระบบจะดึงข้อมูลของเดือนที่ผ่านมาแสดง เพื่อช่วยในการตรวจสอบความสัมพันธ์ของข้อมูล - ระบบจะทำการตรวจสอบความแนบนัยของข้อมูล - กรณีลบข้อมูลพืช รต.02 เนื้อที่ปลูกทั้งหมด เท่ากับ 0 - เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จสิ้น -> กดปุ่มบันทึกข้อมูล - กรณีพืชที่ให้ผลแล้ว แต่ยังคงยืนต้นต่อไป ระบบจะยกเนื้อที่ที่เคยให้ผลแล้วมารอ จากนั้นกดปุ่มบันทึกข้อมูล รต.02

  13. ถ้าไม่อยากจำว่าสัญลักษณ์แต่ละตัวคืออะไร เข้าระบบเอาเมาส์ชี้จะมีคำอธิบายขึ้น ให้จ้า… การบันทึกข้อมูล(ต่อ) หมายเหตุ: เครื่องหมายต่าง ๆ ในระบบบันทึกข้อมูลมีความหมาย ดังนี้ ยังไม่มีการบันทึกข้อมูล แสดงข้อมูล บันทึกแล้วรอการจัดส่งให้จังหวัดอนุมัติ (แก้ไขข้อมูลได้) รอการอนุมัติจากจังหวัด (ส่งแล้ว - แก้ไขข้อมูลไม่ได้) อนุมัติข้อมูลเรียบร้อยแล้ว (จังหวัดอนุมัติข้อมูล) ไม่อนุมัติข้อมูล (อำเภอกลับไปแก้ไขแล้วส่งใหม่) แก้ไขข้อมูล (กรณียังไม่ส่งข้อมูล/จังหวัดไม่อนุมัติให้กลับมาแก้ไข) ลบข้อมูล รต.01 เนื้อที่ยืนต้น ณ วันสิ้นเดือน เท่ากับ 0 และ รต.02 เนื้อที่ปลูกทั้งหมดเท่ากับ 0

  14. -1- เลือกเมนูตรวจสอบการบันทึกข้อมูล -2- คลิ๊กปุ่มแสดง -3- ผลลัพธ์ การบันทึกข้อมูล(ต่อ) ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบข้อมูลก่อนส่งให้จังหวัดอนุมัติ เป็นการตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลก่อนส่ง

  15. การบันทึกข้อมูล(ต่อ) ขั้นตอนที่ 5 การส่งข้อมูลไปอนุมัติ เมื่อตรวจสอบการบันทึกข้อมูลเรียบร้อยแล้วให้อำเภอไปที่เมนู ส่งข้อมูลไปอนุมัติ -> เลือกปี เดือน -> และกดหน้าถัดไป -1- เลือกเมนูส่งข้อมูลไปอนุมัติ -2- เลือกปี และเดือน

  16. การบันทึกข้อมูล(ต่อ) แสดงผลการบันทึกข้อมูล (ครบ/ไม่ครบ) กรณีบันทึกไม่ครบถ้วน ระบบจะไม่ยอมให้ส่งข้อมูลไปอนุมัติ (อำเภอต้องบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วน) กรณีบันทึกครบถ้วน -> คลิกส่งข้อมูลไปอนุมัติ

  17. การอนุมัติข้อมูล การอนุมัติข้อมูลเป็นกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่อำเภอบันทึก เข้ามาในระบบ ซึ่งเป็นหน้าที่สำนักงานเกษตรจังหวัดต้องตรวจสอบ ความถูกต้อง ครบถ้วน แนบนัยของข้อมูล และอนุมัติเพื่อให้ข้อมูลดังกล่าวถูกส่งต่อมายังกรมฯ กระบวนการอนุมัติข้อมูลมีขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 Login เข้าระบบ ตามชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านของจังหวัด และเลือกปีที่รายงานข้อมูล (http://production.doae.go.th) ถ้าลืมรหัสผ่าน ก็เข้าระบบไม่ได้ เมื่อเข้าระบบไม่ได้ก็ไปตรวจสอบอนุมัติข้อมูลไม่ได้ ฉะนั้นติดต่อศูนย์สารสนเทศ ขอทราบรหัสผ่านด่วน! นะครับ

  18. การอนุมัติข้อมูล(ต่อ) ขั้นตอนที่ 2 เลือกเมนูอนุมัติข้อมูล -> เลือกกลุ่มพืช รต.01/รต.02 -> เลือกปี เดือน และอำเภอ ที่ต้องการตรวจสอบและอนุมัติข้อมูล -> กดปุ่มแสดงข้อมูล คลิ๊กปุ่มแสดงข้อมูล

  19. การอนุมัติข้อมูล(ต่อ) แสดงผลจากการเลือกอนุมัติข้อมูล

  20. การอนุมัติข้อมูล(ต่อ) จังหวัดต้องตรวจสอบข้อมูลระดับอำเภอ รายละเอียดตำบล ทุกพืชที่อำเภอบันทึก หากเห็นชอบ เลือกคลิกช่องผ่านหากพบข้อมูลผิดพลาด เลือกคลิกช่องกลับไปแก้ไข หมายเหตุ : อำเภอจะต้องตรวจสอบการอนุมัติข้อมูลของจังหวัดและแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องในพืชที่จังหวัดไม่อนุมัติและจัดส่งให้จังหวัดอนุมัติใหม่อีกครั้ง

  21. การอนุมัติข้อมูล(ต่อ) จังหวัดเมื่อตรวจสอบข้อมูลระดับอำเภอคลิ๊กช่องผ่าน หรือ ช่องกลับไปแก้ไขเรียบร้อย ให้ทำการคลิ๊กปุ่ม -> บันทึกผลการตรวจสอบ จากนั้นให้รอระบบประมวลผลข้อมูลการอนุมัติเสร็จก่อน ในกรณีที่ข้อมูลของอำเภอถูกต้องทุกรายการจะปรากฏปุ่มบันทึกข้อมูลเดือนถัดไป

  22. การอนุมัติข้อมูล(ต่อ) ให้จังหวัดกดปุ่มดังกล่าว เพื่อให้อำเภอบันทึกข้อมูลเดือนต่อไป หากไม่กดปุ่มบันทึกข้อมูลเดือนต่อไปได้อำเภอจะไม่สามารถบันทึกเดือนต่อไปได้ (ปุ่มดังกล่าวจะปรากฏในกรณีที่ข้อมูลทุกรายการของอำเภอผ่านความเห็นชอบเท่านั้น) อย่าลืมกดคลิ๊ก ปุ่มบันทึกข้อมูลเดือนต่อไปได้น้องๆๆ ที่อำเภอ บันทึกเดือนต่อไปไม่ได้นะจ๊ะ…..

  23. แผนการดำเนินงาน 1. การรายงานข้อมูลภาวะการผลิตพืช (เกษตรตำบล) - ภายในวันที่ 5 ของเดือนถัดไป 2. การบันทึกข้อมูลส่งจังหวัด (เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลอำเภอ) - ภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป 3. ตรวจสอบ กลั่นกรองข้อมูลส่งกรมส่งเสริมการเกษตร (ฝ่ายยุทธศาสตร์ฯ สำนักงานเกษตรจังหวัด) - ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป 4.ศูนย์สารสนเทศ วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลพร้อมเผยแพร่ - ภายในวันที่ 20 ของเดือนถัดไป

  24. เจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานส่วนกลางเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานส่วนกลาง นางออมทรัพย์ ไวยากรณ์วิลาศ ผู้อำนวยการกลุ่มวิเคราะห์และวางระบบข้อมูล โทร 0-2940-5721 นายพรชัย ทุราช นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ โทร 08-2656-8584 นายวิเชียร สุดสม นักวิชาการสถิติปฏิบัติการ โทร 08-9442-6212 นางมณฑาทิพย์ ชีไธสง นักสถิติ โทร 08-6886-3539 นางสาวพวงทิพย์ บุญช่วย นักสิถิติ โทร 08-9996-3137

More Related