1 / 40

5 . ส่วนโครงสร้าง คาน - เสา

5 . ส่วนโครงสร้าง คาน - เสา. จันทันของโครงหลังคาที่วางแปไม่ตรง Joint. ตัวอย่าง ชิ้นส่วนที่รับแรงดัดและแรงอัดร่วมกัน. ขื่อของโครงหลังคาที่มีน้ำหนักแขวนอยู่ด้วย. ตัวอย่าง ชิ้นส่วนที่รับแรงดัดและแรงดึงร่วมกัน. เสาที่ต้องรับ น้ำหนักเยื้องศูนย์. เสาที่ต้องรับ แรงกระทำทางข้าง. Wind. Water.

step
Download Presentation

5 . ส่วนโครงสร้าง คาน - เสา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 5. ส่วนโครงสร้าง คาน-เสา

  2. จันทันของโครงหลังคาที่วางแปไม่ตรง Joint ตัวอย่าง ชิ้นส่วนที่รับแรงดัดและแรงอัดร่วมกัน

  3. ขื่อของโครงหลังคาที่มีน้ำหนักแขวนอยู่ด้วยขื่อของโครงหลังคาที่มีน้ำหนักแขวนอยู่ด้วย ตัวอย่าง ชิ้นส่วนที่รับแรงดัดและแรงดึงร่วมกัน

  4. เสาที่ต้องรับน้ำหนักเยื้องศูนย์เสาที่ต้องรับน้ำหนักเยื้องศูนย์ เสาที่ต้องรับแรงกระทำทางข้าง Wind Water ตัวอย่าง ชิ้นส่วนที่รับแรงดัดและแรงอัดร่วมกัน

  5. เสาและคานในโครงเฟรมที่ต้องรับแรงลมเสาและคานในโครงเฟรมที่ต้องรับแรงลม Wind Wind ตัวอย่าง ชิ้นส่วนที่รับแรงดัดและแรงอัดร่วมกัน

  6. ความเค้นที่เกิดขึ้น จะเป็นความเค้นร่วม (Combine Stress)ระหว่าง ความเค้นตามแกน (Axial stress)กับ ความเค้นดัด (Flexural stress) และในกรณีที่มีโมเมนต์ดัดกระทำทั้งสองแกน (Mxและ My)จะรวมผลของโมเมนต์ทั้งสองแกนนั้นเป็น เราเรียกส่วนของโครงสร้างที่ต้องรับแรงดัดร่วมกับแรงในแนวแกนว่า ส่วนของโครงสร้าง คาน-เสา (Beam-Column)

  7. ถ้าแรงตามแกนเป็นแรงดึง การคำนวณดังกล่าวข้างต้นมีความถูกต้องเพียงพอ แต่ถ้าแรงตามแกนเป็นแรงอัด การคำนวณดังกล่าวข้างต้นจะเป็นเพียงค่าโดยประมาณเท่านั้น เพราะยังไม่ได้คิดผลของการโก่งตัวด้านข้างที่เพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากแรงอัด (เรียกว่า P-D Effect) ซึ่งเป็นเหตุให้ส่วนของโครงสร้างต้องรับโมเมนต์ดัดมากขึ้นกว่าเดิม

  8. สมมติว่าเริ่มต้นคานรับแรงกระทำด้านข้างเพียงอย่างเดียวสมมติว่าเริ่มต้นคานรับแรงกระทำด้านข้างเพียงอย่างเดียว มีโมเมนต์สูงสุดที่กึ่งกลางคานเป็น มีระยะแอ่นตัวสูงสุดเป็น Q BMD P-D Effect

  9. โมเมนต์สูงสุดที่กึ่งกลางคานจะเพิ่มขึ้นเป็นโมเมนต์สูงสุดที่กึ่งกลางคานจะเพิ่มขึ้นเป็น มีระยะแอ่นตัวสูงสุดเพิ่มขึ้นอีกเป็น Q P P ถ้ามีแรงกด P กระทำที่ปลายทั้งสองข้าง BMD

  10. ระยะโก่งตัวที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้เกิดโมเมนต์เพิ่มขึ้นอีกระยะโก่งตัวที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้เกิดโมเมนต์เพิ่มขึ้นอีก ซึ่งโมเมนต์สูงสุดที่กึ่งกลางคานจะเพิ่มขึ้นเป็น ซึ่งทำให้เกิดระยะแอ่นตัวสูงสุดเพิ่มขึ้นอีกเป็น Q P P BMD

  11. ระยะโก่งตัวที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้เกิดโมเมนต์เพิ่มขึ้นอีกระยะโก่งตัวที่เพิ่มขึ้นนี้ทำให้เกิดโมเมนต์เพิ่มขึ้นอีก ซึ่งโมเมนต์สูงสุดที่กึ่งกลางคานจะเพิ่มขึ้นเป็น ซึ่งทำให้เกิดระยะแอ่นตัวสูงสุดเพิ่มขึ้นอีกเป็น Q P เป็นเช่นนี้เรื่อยๆไปจนโมเมนต์และระยะแอ่นตัวมีค่าคงที่เป็น และ P BMD

  12. และ (หมายถึง Euler Load) Q P P BMD จากการวิเคราะห์ทางอีลาสติก พบว่า

  13. แทนค่าและจัดรูปสมการได้เป็นแทนค่าและจัดรูปสมการได้เป็น เฉพาะกรณีนี้ ซึ่งจะมีค่าไม่น้อยกว่า 1.0 เสมอ เรียก ว่าส่วนขยายโมเมนต์ (Moment Magnification Factor) สิ่งที่เราสนใจคือ Mmax เพราะเป็นโมเมนต์ที่เกิดขึ้นจริงในชิ้นส่วนคาน-เสาซึ่งจะต้องนำมาพิจารณาในการออกแบบ สัมประสิทธิ์ Cmที่ใช้ในการออกแบบจะดูได้จาก ตาราง 5.1-5.2 สำหรับมาตรฐาน AISC/ASD และ ตาราง 5.3 สำหรับมาตรฐาน AISC/LRFD

  14. ให้ใช้สมการ Interaction ในที่นี้ ข้อกำหนดสำหรับมาตรฐาน AISC/ASD โครงสร้างรับแรงดึงและแรงดัดร่วมกัน (หมายเหตุ กรณีแรงดึงจะไม่มี P-D Effect)

  15. ให้ใช้สมการ Interaction โครงสร้างรับแรงอัดและแรงดัดร่วมกัน 1. กรณีที่แรงอัดมีค่าน้อย (fa/Fa <= 0.15) (หมายเหตุ เป็นสมการเดียวกับ โครงสร้างรับแรงดึงและแรงอัดร่วมกันเพราะไม่ต้องคิดผลของ P-D Effect)

  16. อาจมีผลของ P-D Effect 2. กรณีที่แรงอัดมีค่ามาก (fa/Fa > 0.15) ให้ตรวจสอบตามสมการ Interaction ทั้ง 2 สมการต่อไปนี้ และ ในที่นี้ เป็นค่าของหน่วยแรงออยเลอร์ที่หารด้วย F.S. (= 23/12)แล้ว โครงสร้างรับแรงอัดและแรงดัดร่วมกัน สปส. Cmxและ Cmyหาได้จากตารางที่ 5.1-5.2

  17. เทียบกับกรณี Beam ธรรมดา (ไม่ใช่ Beam Column) Fb=0.6Fy

  18. M1 M2 P = 28+66.5 = 94.5 t ปลายบน M = 1.5+3.5625 = 5.0625 t.m ปลายล่าง M = 1.8+4.275 = 6.075 t.m

  19. มาตรฐาน AISC/ASD ให้ตรวจสอบด้วยสมการ Interaction เช่นเดียวกัน แต่ไม่ต้องนำหน่วยแรงอัดมาคิด นั่นคือ ซึ่งอาจหาค่า Elastic Section Modulus ที่ต้องการโดยประมาณจากสมการ ส่วนโครงสร้างรับโมเมนต์ดัดสองทาง (Biaxial Bending) หมายเหตุ หมายความว่าเราสมมติให้ Fbx = 0.6Fyและ Fby = 0.75Fyไปก่อน แล้วจึงตรวจสอบในภายหลัง

  20. รูปตัวอย่าง กรณีแรงกระทำผ่าน Shear Center ของหน้าตัด ซึ่งอาจใช้ Fby = 0.75Fyได้

  21. = ตัวอย่าง กรณีแรงกระทำไม่ผ่าน Shear Center ของหน้าตัด หน้าตัดจะต้องรับโมเมนต์บิด (Twisting Moment) ด้วย มาตรฐาน AISC/ASD จึงให้ลดกำลังต้านทานรอบแกนรองลงครึ่งหนึ่ง ได้เป็น Fby = 0.75Fy/2 หรือจะใช้ Iy/2 แทน Iyในการหาหน่วยแรงดัดก็ได้

  22. (OK)

  23. 1. หาน้ำหนักและโมเมนต์ดัดที่ประทำต่อแป DL+LL = 100 kg/m2 จากรูปแปแต่ละตัววางห่างกัน 2.5 เมตร (ในแนวราบ) แตกแรงเข้าแกนหลักแ ละแกนรองของแป w wx wy q วิธีทำ ด้วยวิธี AISC/ASD น้ำหนักกระจายลงแป ในแนวดิ่ง w = 100x2.5 = 250 kg/m

  24. แต่ละโครงห่างกัน 5.00 m มี sag rod ทุกๆ กึ่งกลางแป สมมติว่า Cn = 5 แรงกระทำไม่ผ่าน shear center ลองเลือก W150x14 kg/m ซึ่งหน้าตัดเป็นแบบ compact คำนวณโมเมนต์ดัดสูงสุดที่เกิดขึ้นในแกนหลักและแกนรอง เลือกขนาดรูปตัด

  25. ในที่นี้ Lb = 2.50 m เลือกใช้ Cb = 1.0 และ L/rT=125 หมายเหตุถ้าคิดด้วยวิธี LRFD จะผ่านพอดี ตรวจสอบด้วยสมการ Interaction > 1.0 ไม่ผ่านต้องเพิ่มขนาดหน้าตัด

  26. แผ่นเหล็กรองใต้เสาที่รับโมเมนต์ดัด ขนาด BxN (กว้าง B ยาวN) M อาจแปลงเป็น Pe ได้ ในที่นี้ e คือระยะเยื้องศูนย์ จากตำแหน่งกึ่งกลางเสา

  27. (ก) เมื่อระยะเยื้องศูนย์ e < N/6 (หรือเมื่อโมเมนต์ดัดมีค่าน้อย) หน่วยแรงกดใต้แผ่นเหล็กจะเป็นหน่วยแรงอัดทั้งหมด และกระจายเป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู

  28. (ข) เมื่อระยะเยื้องศูนย์ N/6 <e <= N/2 (หรือเมื่อโมเมนต์ดัดมีค่าปานกลาง) หน่วยแรงกดใต้แผ่นเหล็กจะมีขึ้นเพียงบางส่วนเท่านั้นและกระจายเป็นรูปสามเหลี่ยม

  29. จะต้องคำนวณระยะฝังยึดของ anchor ตามมาตรฐาน ACI ด้วย (ค) เมื่อระยะเยื้องศูนย์ e > N/2 (หรือเมื่อโมเมนต์ดัดมีค่ามาก) หน่วยแรงกดใต้แผ่นเหล็กจะมีขึ้นเพียงบางส่วนเท่านั้นและกระจายเป็นรูปสามเหลี่ยม เช่นเดียวกับกรณี (ข)แต่พบว่าแรงลัพธ์จากหน่วยแรงกดมีค่าน้อยกว่า แรงกระทำ P ทำให้ต้องใช้ anchor bolt ช่วยรับแรงดึงด้วย

More Related