1 / 27

ประวัติความเป็นมา

ประวัติความเป็นมา.

Download Presentation

ประวัติความเป็นมา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประวัติความเป็นมา แต่ก่อนชาวบ้านมะค่าอาศัยที่พิมาย ต่อมาเกิดศึกกวาดไพร่ขึ้น คือ ได้มีกษัตริย์ของลาว คือ เจ้าอนุวงศ์แห่งนครเวียงจันทร์ได้ยกกองทัพมาเพื่อกวาดตัวเอาประชาชนไทยกลับไปยังเวียงจันทร์ แต่ด้วยนิสัยของคนไทยที่รักความสงบจึงได้มีบุคคลสำคัญ 2คน คือ หลวงพ่อฝ้ายและหลวงพ่อดาซึ่งเป็นพระภิกษุในศาสนาพุทธ ได้พาครอบครัวคนไทยประมาณ 20ครัวเรือน อพยพมาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพิมายมาเรื่อยๆ จนมาถึงบริเวณดงห้วยต่า แต่บริเวณที่หลวงพ่อฝ้ายและหลวงพ่อดาอพยพมานั้นมีลักษณะเด่น คือ มีขมิ้นป่าขึ้นเยอะ หลวงพ่อฝ้ายและหลวงพ่อดาจึงตกลงกันตั้งหมู่บ้านขึ้นและให้ใช้ชื่อหมู่บ้านว่า หมู่บ้านดอนขมิ้น หรือ ขมิ้นหนองสอ (ซึ่งในปัจจุบันนี้เป็นที่ตั้งของโรงเรียนมะค่าพิทยาคมและวัดป่าศรีประชาวนาราม) หลังจากที่หลวงพ่อฝ้ายและหลวงพ่อดาอาศัยอยู่ที่ดอนขมิ้นหลายสิบปี

  2. ประวัติความเป็นมา(ต่อ)ประวัติความเป็นมา(ต่อ) ลูกบ้านก็มีมากขึ้นจึงมีปัญหาเกิดขึ้น คือ พื้นที่เพาะปลูกไม่เพียงพอ ดังนั้น หลวงพ่อดาจึงพาลูกบ้านส่วนหนึ่งอพยพไปทางทิศตะวันออกของหมู่บ้านดอนขมิ้น แล้วก็ได้พบหนองน้ำแห่งหนึ่ง คือ ลำน้ำกุดใส้จ่อ หรือ หนองกอย หลวงพ่อดาเห็นว่าทำเลดีจึงตั้งรกรากอยู่ทางฝั่งซ้ายของล้ำน้ำกุดใส้จ่อและให้ชื่อหมู่บ้านว่า หมู่บ้านกุดใส้จ่อมาจนถึงปัจจุบัน ส่วนหลวงพ่อฝ้ายก็ได้อพยพลูกบ้านมาทางทิศตะวันตกของหมู่บ้านดอนขมิ้นจนมาพบบริเวณที่ราบสูงแห่งหนึ่ง ซึ่งมีต้นมะค่าโม่งขึ้นอยู่มากมายและเป็นบริเวณที่กว้าง กับทางด้านทิศใต้และทิศตะวันตกเป็นที่ราบสูงอันกว้างใหญ่และมีน้ำขังในฤดูฝนอันเหมาะแก่การปลูกข้าว ส่วนทางด้านทิศเหนือและทิศตะวันออกเป็นที่ราบสูงเหมาะแก่การปลูกพืชไร่ เช่น ถั่ว งา ฝ้าย ฯลฯ เมื่อหลวงพ่อฝ้ายมาเห็นภูมิประเทศที่เหมาะสมที่จะตั้งหมู่บ้านจึงพาลูกบ้านตั้งหมู่บ้านขึ้นที่ดอนมะค่าโม่งและ ตั้งชื่อบ้านว่ามะค่ามาจนตราบทุกวันนี้

  3. ที่ตั้งอาณาเขตติดต่อของหมู่บ้านที่ตั้งอาณาเขตติดต่อของหมู่บ้าน ทิศเหนือจดกับตำบลกุดใส้จ่อ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันออกจดกับ ตำบลโคกสะอาดและตำบลฆ้องชัยพัฒนา กิ่งอำเภอฆ้องชัยจังหวัดกาฬสินธุ์ ทิศใต้ จดกับ ตำบลลาดพัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันตก จดกับ ตำบลขามเฒ่าพัฒนา อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม

  4. จำนวนประชากรของหมู่บ้าน จำนวนประชากรทั้งสิ้น 374 คน เป็นชาย 183 คน เป็นหญิง 191 คน จำนวนครัวเรือน 98 ครัวเรือน ข้อมูลอาชีพของหมู่บ้าน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรซึ่งอาศัยน้ำชลประทานนอกจากนี้ยังประกอบอาชีพค้าขาย รับราชการและรับจ้างแบ่งได้ดังนี้ อาชีพเกษตรกรรม (ทำนา) 93% ค้าขาย 4% รับราชการ 3% อัตราค่าจ้างแรงงานในหมู่บ้าน 150 บาท ประชากรมีรายได้เฉลี่ย 35,721 บาท/คน/ปี

  5. สถานที่สำคัญของหมู่บ้าน1.โรงเรียนชุมชนบ้านมะค่าสถานที่สำคัญของหมู่บ้าน1.โรงเรียนชุมชนบ้านมะค่า

  6. 2.วัด

  7. 3.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะค่า3.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมะค่า

  8. 4.สถานีตำรวจภูธรตำบลมะค่า4.สถานีตำรวจภูธรตำบลมะค่า

  9. 5.ดอนปู่ตา

  10. กลุ่มแม่บ้านเกษตรมะค่าพัฒนา(ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรไทย)กลุ่มแม่บ้านเกษตรมะค่าพัฒนา(ศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรไทย) ประวัติการจัดตั้งกลุ่ม กลุ่มแม่บ้านเกษตรมะค่าพัฒนาหรือศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรไทยก่อตั้งขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ.2544ก่อตั้งโดย นางหนูเลี่ยม รักหบุตร ซึ่งนางหนูเลี่ยมได้ไปเที่ยวที่ประเทศญี่ปุ่น แล้วก็ไปเห็นชาวญี่ปุ่นนิยมอบสมุนไพร อาบน้ำแร่ ก็เลยนำแนวคิคมาทำเพราะวัตถุดิบในชุมชนนั้นหาง่าย จึงแนะนำและชักชวนเพื่อนบ้านมาทำเริ่มแรกมีสมาชิก 9 คน ได้ลงขันกันคนละ 120บาท ในการทำครั้งแรกและได้จดทะเบียนเมื่อ พ.ศ.2546 ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมด46คน สินค้าที่ทำคือ ลูกประคบสมุนไพร หมอนสมุนไพร ยาอบสมุนไพร มะรุมแคปซูน ขมิ้นแคปซูน ยาหม่องสมุนไพร น้ำมันเหลืองสมุนไพร

  11. สมาชิกในกลุ่ม 1.แม่หนูเลี่ยม รักหบุตร 2. แม่เยี่ยม เคนหวด 3. แม่สนั่น ศรีบุญเรือง 4. แม่สวย เขมราร 5. แม่สวน จำนงนิตย์ 6. แม่ดง พูนโพก 7. แม่ลำ นรสิงห์ 8. แม่วิไล ใจมน

  12. บัญชีรายรับรายจ่าย ภายในกลุ่มจะมีการจัดทำบัญชีรายรับรายจ่าย รายได้ต่อเดือนประมาน25,000บาท/เดือน ขึ้นตามสภาพเศรษฐกิจและ ออเดอร์ การจัดการรายได้ บริหารกลุ่ม 30 % ปันผลสมาชิก 70 % โดยคนที่ทำจริงจะได้ 8 % นอกนั้นเป็นสมาชิกซึ่งจะปันผลร้อยละ 20บาท ซื้อหุ่นละ 100 บาท หนึ่งคนซื้อได้ไม่เกิน10,000 บาท หรือ100หุ้น

  13. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.สหกรณ์การเกษตร 2.เกษตรอำเภอ,เกษตรจังหวัด 3.กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 4.พัฒนาชุมชน 5.อบต.บ้านมะค่า 6.OTOPมหาสารคาม

  14. หมอนสมุนไพร

  15. อุปกรณ์ในการทำหมอนสมุนไพรอุปกรณ์ในการทำหมอนสมุนไพร 1. ผ้าขิด 2. ไม้ 3. เข็ม 4. เขียง 5. มีด 6. ตะไคร้ ตะไคร้ ใบหนาด 7. ข่า 8. ไพร 9. ขมิ้น 10. ใบเตย 11. ใบหนาด 12. เป้าหอม 13. หว้านหอม 14. ผิวมะกรูด 15. ใยสังเคราะห์ หรือนุ่น ใบเตย ขมิ้น

  16. ขั้นตอนการทำหมอนสมุนไพรขั้นตอนการทำหมอนสมุนไพร 1. นำสมุนไพรแต่ละชนิดมาล้างน้ำหลายๆ ครั้ง ให้สะอาด แล้วผึ่งให้สะเด็ดน้ำ 2. นำสมุนไพรมาหั่นเป็นชิ้นบางๆ 3. นำสมุนไพรที่หั่นเสร็จแล้วไปตากให้แห้ง 4. นำสมุนไพรที่ตากแห้งแล้วมาผสมกัน 5. นำสมุนไพรมายัดเข้ากับตัวหมอนที่เตรียมไว้ 6. เมื่อยัดเสร็จแล้วก็เข้าหน้าหมอนให้เรียบร้อย 7. เมื่อเข้าหน้าหมอนเสร็จแล้วก็ติดฉลากและห่อด้วยพลาสติกใส

  17. การผึ่งสมุนไพร การหั่นสมุนไพร การตากสมุนไพร การยัดหมอน1 การยัดหมอน2

  18. การยัดหมอน3 การเข้าหน้าหมอน การเย็บปิดหน้าหมอน หมอนที่ยัดเสร็จแล้ว หมอนที่ติดฉลากและห่อพลาสติก เสร็จแล้ว

  19. ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ 1. ใช้ในการรักษาโรค โดยไม่ต้องใช้ยาแผนปัจจุบัน 2. ใช้ในการบรรเทาอาการเจ็บป่วยของบุคลากรในชุมชน 3. ผลิตภัณฑ์ที่ได้บางชนิดสามารถใช้เป็นของประดับตกแต่งไ้ด้ 4. ผลิตภัณฑ์ที่ได้ปลอดภัยจากสารอันตราย เพราะทำจากสมุนไพรพื้นบ้าน 5. สร้างรายได้ให้กับบุคลากรในชุมชน 6. ผลิตภัณฑ์ที่ทำมีขนาดพอเหมาะสามารถพกพาได้สะดวก 7. ผลิตภัณฑ์ที่ได้ใช้งานและใช้ได้กับคนทุกวัย 8. ผลิตภัณฑ์ที่ได้สามารถใช้เป็นของฝากของที่ระลึกให้แขกในงานต่างๆได้

  20. ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ(ต่อ)ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ(ต่อ) 9. เป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาของคนสมัยก่อนให้ยังคงอยู่ 10. สมุนไพรที่บรรจุในผลิตภัณฑ์ช่วยในการไหลเวียนของเลือด 11. เป็นการนำสิ่งที่มีค่ามาใช้ประโยชน์โดยการทำเป็นผลิตภัณฑ์ 12. ผลิตภัณฑ์ต่างๆสามารถทำเป็นสินค้าOTOP ของชุมชนได้ 13. สมุนไพรต่างๆ สามารถรักษาโรคได้มากกว่า 1 โรค 14. สร้างความร่วมมือ สามัคคี ให้กับคนในกลุ่ม 15. ผลิตภัณฑ์มีหลากหลายรูปแบบทำให้สามารถใช้งานได้ง่าย และเหมาะสม

  21. จบการนำเสนอ สวัสดีครับ นายอำนาจ คำโคกสี

More Related