1 / 17

ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร

ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร. สำหรับ พนักงานและเจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. แรงม้าคืออะไร. คือ หน่วยวัด “ พลัง ” เช่น พลังที่สามารถยกน้ำหนักขนาด 1 ปอนด์ ขึ้นในแนวดิ่งเป็นระยะทางได้ 550 ฟุต ภายในเวลา 1 วินาที หมายถึง 1 แรงม้า = 550 ฟุต – ปอนด์ /วินาที

talisa
Download Presentation

ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร สำหรับ พนักงานและเจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  2. แรงม้าคืออะไร • คือ หน่วยวัด “พลัง” เช่น พลังที่สามารถยกน้ำหนักขนาด 1 ปอนด์ ขึ้นในแนวดิ่งเป็นระยะทางได้ 550 ฟุต ภายในเวลา 1 วินาที หมายถึง 1 แรงม้า = 550 ฟุต – ปอนด์ /วินาที = 167 ม. - 0.453 กก./วินาที = 2,545 บี.ที.ยู./ชั่วโมง = 746 วัตต์มีรากเหง้าการคำนวณมาจากสูตร งาน(W)(จูล) = แรง(F) คูณด้วย ระยะทาง (S)และ พลังงาน(P)คือ งาน(W)ต่อหน่วยเวลา(วินาที) มีชื่อว่าเรียกว่า วัตต์ (Watt) หรือ 1 วัตต์ = 1 จูลต่อวินาที หรือ เท่ากับ งาน (W) คูณด้วย ความเร็ว (V) เมตรต่อวินาที (P = W x V) กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  3. การประเมินแรงม้าเปรียบเทียบการประเมินแรงม้าเปรียบเทียบ สูตรW = V x A W = พลังงงาน หน่วยเป็น วัตต์ V = แรงดันไฟฟ้า หน่วยเป็น โวลท์ A = กระแสไฟฟ้า หน่วยเป็น แอมป์ กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  4. สูตรการหาแรงม้า (HP) แรงม้า(HP) = กิโลวัตต์ (KW) 0.746 หรือ = วัตต์ (W) 746 กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  5. กรณีเป็นมอเตอร์ไฟฟ้าเก่าไม่มี Name Plate และ Catalogue • คำนวณหาแรงม้าเปรียบเทียบได้โดยการวัดค่า Frame Size ของมอเตอร์แล้วเปรียบเทียบค่าแรงม้าจากตาราง กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  6. กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  7. กรณีเครื่องจักรที่ไม่ได้ใช้มอเตอร์ขับ และใช้ไฟฟ้าที่เกี่ยวกับความร้อน • คำนวณหาแรงม้าเปรียบเทียบได้จาก กระแสไฟฟ้าเป็น Single Phase (220 Volt ) แรงม้าเปรียบเทียบ = V x A x 0.8 x 0.6 746 กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  8. กระแสไฟฟ้าเป็น Three Phases ( 380 Volt) แรงม้าเปรียบเทียบ = V x A x 1.732 x 0.8 x 0.6 746 กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  9. เครื่องเชื่อมไฟฟ้า 100 Amp = 5.5 แรงม้า 150 Amp = 8 แรงม้า 200 Amp = 11 แรงม้า 250 Amp = 14 แรงม้า 300 Amp = 17 แรงม้า กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  10. เครื่องเชื่อมจุด (Spot Welding) • กรณีกระแสไฟฟ้าเป็น Single Phase (220 Volt ) แรงม้าเปรียบเทียบ = V x A x 0.8 x 0.20 746 หรือ = KVA x 0.8 x 0.20 0.746 กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  11. กรณีกระแสไฟฟ้าเป็น Three Phases ( 380 Volt) แรงม้าเปรียบเทียบ = V x A x 1.732 x 0.8 x 0.20 746 หรือ = KVA x 0.8 x 0.20 0.746 กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  12. เครื่องเชื่อมก๊าซหรือเครื่องตัดด้วยก๊าซเครื่องเชื่อมก๊าซหรือเครื่องตัดด้วยก๊าซ • แรงม้าเปรียบเทียบ = 2 x จำนวนคู่สาย • กำหนดให้ 1 คู่สาย = 2 แรงม้า กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  13. เตาอบ • มีรากเหง้ามาจากสูตรในการคำนวณ Q = M x L เมื่อ Q = ปริมาณความร้อน (แคลอรี่ หรือ บี.ที.ยู.) M = มวลของน้ำในวัสดุที่อบ (กิโลกรัม หรือ ปอนด์) L = ความร้อนแฝง ในการกลายเป็นไอ (แคลอรี่/ กรัม หรือ บี.ที.ยู./ชั่งโมง) กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  14. ประเมินแรงม้าเปรียบเทียบจากประเมินแรงม้าเปรียบเทียบจาก ปริมาตรภายนอก (กว้าง x ยาว x สูง ) โดยประเมินปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร = 2 แรงม้า ไม่ว่าจะใช้อะไรเป็นเชื้อเพลิง กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  15. ข้อยกเว้น • กรณีเตาอบไม้ ประเมินแรงม้าเปรียบเทียบ 1 ลูกบาศก์เมตร = 0.2 แรงม้า • กรณีเตาบ่มใบยาสูบประเมินแรงม้าเปรียบเทียบ 1 ลูกบาศก์เมตร = 0.15 แรงม้า กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  16. เตาอั้งโล่หรือเตาดินเผาเตาอั้งโล่หรือเตาดินเผา • ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางโดยเฉลี่ยของเตาไม่เกิน 40 ซม. ประเมินแรงม้าเปรียบเทียบ = 0.25 แรงม้า • ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางโดยเฉลี่ยของเตามากกว่า 40 ซม. ประเมินแรงม้าเปรียบเทียบ = 0.50 แรงม้า • ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางโดยเฉลี่ยของเตามากว่า 100 ซม. ประเมินแรงม้าเปรียบเทียบ = 2 แรงม้า กรมโรงงานอุตสาหกรรม

  17. จบการนำเสนอ ถาม/ตอบ กรมโรงงานอุตสาหกรรม

More Related