1 / 24

การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เรื่องคุณภาพอากาศสำหรับ เด็ก

การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เรื่องคุณภาพอากาศสำหรับ เด็ก. สุวรรณี อัศวกุลชัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต ดินแดง กรุงเทพฯ 10400 e-mail : suwannee_ads@utcc.ac.th. Topics. Introduction Objectives Methodology Result and discussion

Download Presentation

การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์ เรื่องคุณภาพอากาศสำหรับ เด็ก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เรื่องคุณภาพอากาศสำหรับเด็กการพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เรื่องคุณภาพอากาศสำหรับเด็ก สุวรรณี อัศวกุลชัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต ดินแดง กรุงเทพฯ 10400 e-mail : suwannee_ads@utcc.ac.th

  2. Topics • Introduction • Objectives • Methodology • Result and discussion • Conclusion and recommendation • Acknowledgement

  3. Introduction • เมืองน่าอยู่ (healthy cities) หมายถึง เมืองที่มีการสร้างสรรค์และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทั้งด้านกายภาพและสังคมอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการขยายแหล่งทรัพยากรของชุมชน โดยให้ประชาชนในชุมชนได้มีส่วนร่วมและช่วยเหลือซึ่งกันและกันเกี่ยวกับการดำเนินวิถีทางของชีวิต เพื่อให้ได้ศักยภาพหรือคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด (ไชยยันตร์ 2538) • การพัฒนาเกมคอมพิวเตอร์เป็นสื่อสำหรับการเรียนการสอนจึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจ และทำให้เด็กสนใจเรียนมากขึ้น

  4. Objectives • วิเคราะห์และออกแบบรูปแบบเกม • การพัฒนาเกม โดยใช้ Macromedia Flash เป็นเครื่องมือ • ทดสอบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อคอมพิวเตอร์และด้านเนื้อหาของเกมจำนวน 6 ท่าน และปรับปรุงแก้ไขเกมให้สมบูรณ์ • ทดสอบเกมโดยนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 • สอบถามความพึงพอใจของเกมจากนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6

  5. Methodology • ประมวลเนื้อหางานวิจัยทั้ง 3 เรื่อง สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาประกอบในการพัฒนาเกม • วิเคราะห์และออกแบบรูปแบบเกม • การพัฒนาเกม โดยใช้ Macromedia Flash เป็นเครื่องมือ • ทดสอบโดยผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อคอมพิวเตอร์และด้านเนื้อหาของเกมจำนวน 6 ท่าน และปรับปรุงแก้ไขเกมให้สมบูรณ์ • ทดสอบเกมโดยนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 • สอบถามความพึงพอใจของเกมจากนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6

  6. Results and discussion หน้าจอหลักของโปรแกรม

  7. ความรู้พื้นฐานด้านคุณภาพอากาศความรู้พื้นฐานด้านคุณภาพอากาศ • แหล่งกำเนิดมลพิษ • ชนิดของมลพิษทางอากาศ • ปัจจัยที่มีผลต่อการกิดมลพิษทางอากาศ • การป้องกันและแก้ไขปัญมลพิษทางอากาศ • ลักษณะเมืองน่าอยู่

  8. เกมออกแแบบเมืองน่าอยู่ • ออกแบบให้เด็กได้เรียนรู้เกี่ยวกับมลพิษอากาศ • การจัดวางสิ่งต่างๆ เข้าไปในเมืองที่เด็กออกแบบด้วยตัวเอง • แสดงข้อมูลมลพิษทางอากาศทันที • การปรับปรุงแก้ไขปัญหาที่ก่อให้เกิดมลพิษในเมืองนั้น • แสดงภาพเมืองน่าอยู่ในฝันของเด็กๆ

  9. การเล่นเกม • ปุ่มเลือกวัตถุ หรือสิ่งปลูกสร้าง ที่จะเข้าไปในเมือง มีปุ่มซ้าย-ขวา เพื่อเลือกรูปแบบของวัตถที่จอยู่ในเมือง ประกอบด้วย • บ้าน • ถนน • รถ • อาคารสำนักงาน • โรงงาน ยานพาหนะ • ต้นไม้ และ • พื้นที่ว่างเปล่าใช้สำหรับลบสิ่งปลูกสร้างที่ไม่ต้องการออกจากเมือง

  10. ถนน

  11. รถ

  12. อาคารสำนักงาน

  13. โรงงาน

  14. ต้นไม้

  15. ค่ามลพิษ

  16. แบบทดสอบ • สุ่มเอาจากคำถามมากกว่า 20 ข้อ เหลือเพียง 10 ข้อ และ • สลับคำตอบที่เป็นตัวเลือกในแต่ละข้อ • เพราะฉะนั้นในการตอบคำถามในแต่ละครั้ง ถึงแม้ว่าจะเป็นคำถามเดียวกัน แต่คำตอบอาจมีการเรียงสลับกันก็ได้ • โดยที่คำถามจะมีเป็นข้อย่อยให้เลือก ถ้าตอบถูกก็จะปรากฏเครื่องหมาย

  17. Conclusion and recommendation • ผลการทดสอบเกมโดยนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 จำนวน 40 คน • การแข่งขันคนละ 1 ชั่วโมง • ผลสอบถามความพึงพอใจของเกม • ร้อยละ 96.5 มีความพึงพอใจต่อเกมเนื่องจากวิธีการเล่นง่าย • ร้อยละ 91.7 คิดว่าช่วยสร้างจินตนาการเมืองน่าอยู่ของตนเอง • ร้อยละ 90.1 คิดว่าช่วยทำให้เข้าใจแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ • ร้อยละ 89.3 คิดว่าช่วยทำให้เข้าใจวิธีการลดมลพิษ และ • ร้อยละ 90.1 คิดว่าช่วยกระตุ้นให้เด็กต้องการเรียนรู้มากขึ้น • โดยรวมมีความพึงพอใจในการเล่นเกมอยู่ในระดับมาก (X =2.94 คะแนนเต็ม 3)

  18. Conclusion and recommendation • สามารถสร้างจินตนาการเมืองน่าอยู่ของตนเองได้ • เข้าใจแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ • เข้าใจวิธีการลดมลพิษ และ • ช่วยกระตุ้นให้เด็กต้องการเรียนรู้ ถือว่าเป็นเกมคอมพิวเตอร์ที่สร้างสรรค์ • ช่วยกันพัฒนาให้มากขึ้น เพื่อทดแทนเกมรุนแรงต่างๆ ที่มีอยู่มากมาย

  19. Acknowledgement • งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจาก • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และ • สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ผู้สนับสนุน • อาจารย์ สุรัตน์ เลิศล้ำ ในการจัดทำสื่อความรู้ • คุณ วัชรพงศ์ ศรีหนองห้าง ในการออกแบบรูปแบบเกม

More Related