1 / 12

นายแพทย์สุ วิช ธรรม ปาโล ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา

นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔. โดย. นายแพทย์สุ วิช ธรรม ปาโล ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา. “ โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555 ”. ที่มา สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค 1 ธันวาคม 2554.

Download Presentation

นายแพทย์สุ วิช ธรรม ปาโล ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔ โดย นายแพทย์สุวิช ธรรมปาโล ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๒ สงขลา

  2. โครงการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555 ” ที่มา สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค 1 ธันวาคม 2554

  3. ทิศทางการพัฒนา“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 3

  4. สภาพการณ์เปลี่ยนแปลง • การระบาดของโรคอุบัติใหม่ เช่น โรคไข้หวัดใหญ่ โรคชิคุนกุนยา • การเดินทาง คมนาคมสะดวก โลกาภิวัต • สภาพสุขภาพของประชาชน พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค • การตื่นตัวในการมีส่วนร่วมของประชาชน • ท้องถิ่นมีบทบาทในป้องกันควบคุมโรค รัฐธรรมนูญฉบับปี2550 ระบุว่าเป็นหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่น • การพัฒนาระบบบริการ มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล

  5. แนวคิดการพัฒนา • ให้ท้องถิ่นรู้ปัญหาของตนเอง • วางแผนร่วมกัน • รวมทรัพยากรและใช้ร่วมกัน • เฝ้าระวังโรคในระดับพื้นที่ • ตอบโต้การควบคุมโรคทันที

  6. “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการ การเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันสถานการณ์ 6

  7. กรอบความคิด : พื้นที่ควบคุมโรคเข้มแข็งและยั่งยืน ประเทศควบคุมโรคเข้มแข็ง • จังหวัดควบคุมโรคเข้มแข็ง ลดโรค บทบาทกรมควบคุมโรค ประสาน สนับสนุน กระตุ้น ชี้ปัญหา สร้างแรงจูงใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาชนได้รับการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ

  8. กรม คร. มุ่งเน้น “อำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วม ให้เกิดประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ อนาคต ปัจจุบัน ....... 1. มีคณะกรรมการ 1. มีคณะกรรมการ 2.มีระบบระบาดฯ 3.มีการวางแผน 2.มีระบบระบาดฯ 5.มีผลงาน 4.มีการระดมทุนฯ 3.มีการวางแผน ....... 4.มีการระดมทุนฯ ....... 5.มีผลงาน ไม่เป็นระบบ??

  9. กรอบแนวคิด 5 คุณลักษณะ ของ“อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” SRRT ตำบล

  10. ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กลไก ความก้าวหน้า และแผนการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” *ข้อเสนอเพิ่มเติมจากเครือข่าย สสจ. ด้านนโยบาย ด้านวิชาการ ปี 54 ปี 53 ปี 55 ปี 56 - 58 • สธ. อนุมัติโครงการ/ โอนเงินให้ สสจ. สื่อสาร สนับสนุนอำเภอฯ อบรม SRRT ตำบล (6.9 ล้าน) • เป็นตัวชี้วัด“ผู้ว่าฯ” “ผู้ตรวจ คณะที่ 3” “คำรับรองกรม/หน่วยงาน” • จัดทำแผนแม่บท 54 - 58 • เชิดชู ให้รางวัล 12 -13 กย. 54 • กระทรวงฯ ประกาศนโยบาย 16 กย.53 อิมแพ็ค เมืองทอง • MOU : ปลัดกระทรวง อธิบดี คร. นายก อบต.แห่งประเทศไทย ผลักดันเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานของ ผู้ว่า ฯ และ ผู้ตรวจฯ 2. พัฒนากลไกความร่วมมือฯ ส่วนกลาง : กรมปกครองส่วนท้องถิ่น / สคร. : ผู้ว่าฯ 3. เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ 4. * สัมมนาเครือข่ายกลุ่มงานควบคุมโรค 5. * กำหนดเป็นนโยบายที่ต่อเนื่อง 3 – 5 ปี • อบรม “หลักสูตร SRRT ตำบล (ครู ก) ให้ สคร. สสจ สสอ. • สสจ.+สคร. อบรม SRRT ตำบล 4,666 จากทั้งหมด 9,750 แห่ง • สคร. สื่อสาร แนวทาง การประเมินผล • สัมมนา 4 ภาค (กพ.- มีค. ขอนแก่น / นครนายก/เชียงใหม่/นครศรีธรรมราช) • ประชุมจังหวัด/ ผู้ตรวจเขตฯ/ เอกสาร • 5. สนับสนุน ชุดความรู้ “คู่มือ SRRT ตำบล” • สื่อสาร ระดมความคิดเครือข่ายหลัก : • สสจ. (ผชชว. กลุ่ม คร./ระบาด) • อำเภอ (รพช./สสอ.) • ตำบล (รพสต./สอ.) • สื่อมวลชน • 2. พัฒนา หลักสูตรฯ คู่มือ เกณฑ์แนวทางการประเมินฯ อบรม SRRT ตำบล ที่เหลือ 5,084 แห่ง สนับสนุนข้อมูล ชี้เป้าปัญหา มาตรการ คู่มือ แนวทาง หลักสูตร วิทยากรฯ พัฒนาเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ ประเมิน เป็นพี่เลี้ยง พัฒนาอำเภอฯ ตามคุณลักษณะที่กำหนด *KM Learning ระดับประเทศ * M&E will focus on accreditation • สคร. ประสาน ดำเนินงานกับเครือข่ายหลักในพื้นที่ • สนับสนุน ติดตาม ประเมิน อำเภอฯ สะท้อนผลงาน • เสนอกรมพัฒนาให้ได้ผลตามเป้าหมาย สร้างการมีส่วนร่วม สื่อสารดำเนินงาน กับเครือข่ายหลักในพื้นที่ ให้ต่อเนื่อง * ประชาสัมพันธ์วงกว้างถึงประชาชน * จัดทำสื่อต้นแบบ * กำหนดผู้รับผิดชอบใน สคร.ให้ชัดเจน • “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” คืออะไร ทำอย่างไร • ติดตาม สะท้อนผลงาน

  11. ด้าน การสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ กลไก ความก้าวหน้า และแผนการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปี 2555 ด้านนโยบาย ด้านวิชาการ *ข้อเสนอเพิ่มเติมจากเครือข่าย สสจ. ปี 54 ปี 2553 - 2554 ปี 2555 : กรมฯ จัดทำคำสั่ง/อนุมัติโครงการแล้ว ปี 2556-2558 ผลักดันเป็นตัวชี้วัดของผู้ว่า ฯ และ ผู้ตรวจฯ 2. พัฒนากลไกความร่วมมือฯ ส่วนกลาง : กรมปกครองส่วนท้องถิ่น / สคร. : ผวจ. 3. เชิดชู ให้รางวัล : ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ 4. * สัมมนาเครือข่ายกลุ่มงานควบคุมโรค 5.* กำหนดเป็นนโยบายที่ต่อเนื่อง 3 – 5 ปี กองแผนงานเป็นหลัก • ข้อสังเกต • อุทกภัย 54 • อำเภอควบคุมโรคฯ ส่งผลต่อความพร้อมของระบบเฝ้าระวังฯ อย่างไร เช่น การมีส่วนร่วมของเครือข่าย, ข้อมูลฯ , SRRT ตำบล, ผลการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคฯ • จุดอ่อนที่ต้องปรับปรุง เตรียมพร้อมในสถานการณ์ปกติและภาวะฉุกเฉินในอนาคต อบรม SRRT ตำบล ที่เหลือ 5,084 แห่ง สนับสนุนข้อมูล ชี้เป้าปัญหา มาตรการ คู่มือ แนวทาง หลักสูตร วิทยากรฯ พัฒนาเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ ประเมิน เป็นพี่เลี้ยง พัฒนาอำเภอฯ ตามคุณลักษณะที่กำหนด * M&E will focus on accreditation *KM Learning ระดับประเทศ KM / สน,ระบาดฯเป็นหลัก สร้างการมีส่วนร่วม สื่อสารดำเนินงาน กับเครือข่ายหลักในพื้นที่ ให้ต่อเนื่อง * ประชาสัมพันธ์วงกว้างถึงประชาชน * จัดทำสื่อต้นแบบ * กำหนดผู้รับผิดชอบใน สคร. ให้ชัดเจน สน.เผยแพร่ฯเป็นหลัก

  12. ขอบคุณครับ

More Related