1 / 35

* เปิด งาน

* วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ ตามบริบทพื้นที่. ขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในชุมชน. 1. กำหนดจุดหมายปลายทาง. 2. 3. สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์. สร้าง ใช้. * ปรับ ใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ ( SLM)

tana-guerra
Download Presentation

* เปิด งาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. * วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์ ตามบริบทพื้นที่ ขั้นตอนการสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในชุมชน 1 กำหนดจุดหมายปลายทาง 2 3 สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สร้าง ใช้ * ปรับใช้แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร 4 *สร้างนวัตกรรม / ตัวชี้วัด 5 6 * สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) 7 * เปิดงาน

  2. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบล........... อำเภอ.......... จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 2553 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการเฝ้าระวัง H1N1 ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดและดำเนินกิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมH1N1 ชุมชน มีมาตรการทางสังคมที่เด็ดขาด ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ ศอช. ภาคเอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก อปท.และท้องที่นำร่องเรื่อง H1N1 ภาคี หน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องและเชิงรุก สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวัง H1 N2 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลในเรื่อง H1N1 บุคลากร และทายาททำงานเป็นทีม ในบรรยากาศที่เอื้ออำนวย ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย พื้นฐาน ผู้นำมีศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ความคิดเชิงบวก เชิงรุก

  3. ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบล......... อำเภอ.......... จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) • เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตน พร้อมทั้งถ่ายทอดต่อครอบครัวให้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง • ชุมชนผลิตและใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก • ประชาชนทุกคนใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก • ชุมชนปลูกและใช้สมุนไพรต้านไข้หวัด • ทุกครัวเรือนต้องสะอาด • ประชาชนต้องล้างมือทุกครั้งก่อนทานอาหาร • ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังที่เข้มแข็ง • มีมาตรการทางสังคมที่เด็ดขาด • กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ • ชุมชนมีการสำรองอาหารและของใช้ที่จำเป็นต่อชีวิตประจำวัน • ชุมชนมีบัญชีบุคลาการและเครือข่ายทั้งหมด (แฟ้มข้อมูลภาวะวิกฤต) ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) • ปกครองท้องที่เป็นแกนนำในการรณรงค์ • หน่วยงานภาครัฐให้ความสนับสนุนด้านบุคลากร ทรัพยากร ความรู้ งบประมาณ ทำบัญชีบุคลากร และขั้นตอนการทำงาน • อปท.ให้ความสนับสนุนด้านทรัพยากรและสำรองเครื่องใช้อุปโภค-บริโภคทั้งหมด • โรงเรียนต้องให้ความร่วมมือและให้ความรู้ในการดำเนินงานด้านเชื้อ H1N1กับเยาวชน • วัดสะอาดและถ่ายทอดความรู้สู่ชุชน • ศอช.เป็นผู้ประสานงานที่เข้มแข็ง • กลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนปฏิบัติงานเชิงรุกทุกครัวเรือนและเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุ • เอกชนมีส่วนร่วมในการคัดกรองและเฝ้าระวังนักท่องเที่ยว

  4. ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบล......... อำเภอ.......... จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 2553 ระดับกระบวนการ(มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) • มีการประชาสัมพันธ์อย่างครอบคลุมและต่อเนื่องเชิงรุก 3 เวลา • สร้างและขยายเครือข่ายสุขภาพกับตำบลใกล้เคียง • เกิดการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลในเรื่องเกี่ยวกับ H1N1 • มีการสร้างนวัตกรรมในการเฝ้าระวัง ควบคุมเกี่ยวกับ H1N1 • มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้าน H1N1 ทุกสัปดาห์ ระดับพื้นฐานองค์กร(มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) • มีข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของคนในชุมชนเกี่ยวกับ H1N1 และสมุนไพรที่เป็นจริงและทันสมัย • ทำงานเป็นทีมเชิงรุก • ผู้นำเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถในการป้องกันเชื้อ H1N1 • มีการสร้างทายาทผู้นำที่มีความรู้ความเข้าใจกระบวนทัศน์เชิงบวกและเชิงรุกด้าน H1N1 • ผู้นำมีคุณธรรมและจริยธรรม

  5. ประชาชน ภาคี บริบท &สถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ 2009 พื้นฐาน กระบวนการ

  6. ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลคอกกระบือ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 2554( ..2 ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 สิ่งดีงามเป็นความภูมิใจของชุมชนเรา ประชาชน บริบท &สถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ 2009

  7. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ผลงานของพี่น้องในชุมชนที่ได้ช่วยกันทำมาแล้วประทับใจ มีอะไรบ้าง บริบท &สถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ 2009 กลุ่ม อสม.เยาวชน สูงอายุ ผู้นำชุมชน ฯลฯ องค์กร หน่วยงาน กลุ่ม กองทุน ที่เกี่ยวข้องร่วมทำงานกับเรา คือใครบ้างและได้แสดงบทบาทที่เราประทับใจอย่างไรบ้าง

  8. ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลคอกกระบือ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 255....( ....ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 วิธีการทำงานวิธีการทำงานที่ผ่านมาที่เราเคยใช้ได้ผลดี ที่ผ่านมาที่เราเคยใช้ได้ผลดี วิธีการทำงานที่ผ่านมาที่เราเคยใช้ได้ผลดี ภูมิปัญญา ความรู้และวิธีการทั้งใหม่และเก่าที่เราค้นพบหรือนำมาใช้แล้วได้ผลดี บริบท &สถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ 2009 กระบวนการ การติดต่อสื่อสารส่งข่าวสาร ในพื้นที่พวกเราใช้วิธีการอะไรบ้าง

  9. ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลคอกกระบือ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 255....( ....ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 ความเข้มแข็ง/สิ่งดีๆ ของกลุ่มทีมงานของพวกเราภาคภูมิใจ บริบท &สถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ 2009 พื้นฐาน

  10. ตรงนี้จะมี mind map ไข้หวัดใหญ่พื้นที่

  11. ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลคอกกระบือ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 2554( ..2 ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) - เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตน พร้อมทั้งถ่ายทอดต่อครอบครัวให้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง -ชุมชนผลิตและใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก -ประชาชนที่ป่วยเป็นไข้หวัดทุกคนใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก -ชุมชนปลูกและใช้สมุนไพรต้านไข้หวัด -ทุกครัวเรือนต้องสะอาด -ประชาชนต้องล้างมือทุกครั้งก่อนทานอาหาร -ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังที่เข้มแข็ง -มีมาตรการทางสังคม -กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ประชาชน ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) - เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตน พร้อมทั้งถ่ายทอดต่อครอบครัวให้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง -ชุมชนผลิตและใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก -ประชาชนที่ป่วยเป็นไข้หวัดทุกคนใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก -ชุมชนปลูกและใช้สมุนไพรต้านไข้หวัด -ทุกครัวเรือนต้องสะอาด -ประชาชนต้องล้างมือทุกครั้งก่อนทานอาหาร -ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังที่เข้มแข็ง -มีมาตรการทางสังคม -กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ บริบท &สถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ 2009

  12. ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลคอกกระบือ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 255....( ....ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) -อบต.คอกกระบือมีส่วนร่วมในการสนับสนุนงบประมาณและร่วมดำเนินการ -อบต.คอกกระบือเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุ -หน่วยงานภาครัฐให้ความสนับสนุนด้านบุคลากร ทรัพยากร ความรู้ งบประมาณ ทำบัญชีครัวเรือน และขั้นตอนการทำงาน -โรงเรียนต้องให้ความร่วมมือและให้ความรู้ในการป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ -วัดเป็นตัวอย่างความสะอาดและถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน -กลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนปฏิบัติงานเชิงรุกทุกครัวเรือน -เอกชนและแกนนำในสถานประกอบการมีส่วนร่วมในการคัดกรองและเฝ้าระวังนักท่องเที่ยว ภาคี บริบท &สถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ 2009 ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) -อบต.คอกกระบือมีส่วนร่วมในการสนับสนุนงบประมาณและร่วมดำเนินการ -อบต.คอกกระบือเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุ -หน่วยงานภาครัฐให้ความสนับสนุนด้านบุคลากร ทรัพยากร ความรู้ งบประมาณ ทำบัญชีครัวเรือน และขั้นตอนการทำงาน -โรงเรียนต้องให้ความร่วมมือและให้ความรู้ในการป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ -วัดเป็นตัวอย่างความสะอาดและถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน -กลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนปฏิบัติงานเชิงรุกทุกครัวเรือน -เอกชนและแกนนำในสถานประกอบการมีส่วนร่วมในการคัดกรองและเฝ้าระวังนักท่องเที่ยว

  13. ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลคอกกระบือ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 255....( ....ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 บริบท &สถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ 2009 กระบวนการ ระดับกระบวนการ(มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) -มีการประชาสัมพันธ์อย่างครอบคลุมและต่อเนื่อง -สร้างและขยายเครือข่ายสุขภาพกับตำบลใกล้เคียง -เกิดการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลในเรื่องเกี่ยวกับไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ -มีการสร้างนวัตกรรมในการเฝ้าระวัง ควบคุมเกี่ยวกับ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ -มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) -อบต.คอกกระบือมีส่วนร่วมในการสนับสนุนงบประมาณและร่วมดำเนินการ -อบต.คอกกระบือเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุ -หน่วยงานภาครัฐให้ความสนับสนุนด้านบุคลากร ทรัพยากร ความรู้ งบประมาณ ทำบัญชีครัวเรือน และขั้นตอนการทำงาน -โรงเรียนต้องให้ความร่วมมือและให้ความรู้ในการป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ -วัดเป็นตัวอย่างความสะอาดและถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน -กลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนปฏิบัติงานเชิงรุกทุกครัวเรือน -เอกชนและแกนนำในสถานประกอบการมีส่วนร่วมในการคัดกรองและเฝ้าระวังนักท่องเที่ยว

  14. ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลคอกกระบือ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 255....( ....ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 บริบท &สถานการณ์ ไข้หวัดใหญ่ 2009 พื้นฐาน ระดับพื้นฐานองค์กร(มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) -มีข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของคนในชุมชนเกี่ยวกับ ไข้หวัดใหญ่ที่เป็นจริงและทันสมัย -ทำงานเป็นทีมเชิงรุก -ผู้นำเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถในการป้องกันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ -มีแกนนำที่เป็นเยาวชนที่มีความรู้ความเข้าใจด้าน ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ -ผู้นำมีคุณธรรมและจริยธรรม -ชุมชนมีบัญชีบุคลาการและเครือข่ายทั้งหมด (แฟ้มข้อมูลภาวะวิกฤต) ระดับพื้นฐานองค์กร(มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) -มีข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของคนในชุมชนเกี่ยวกับ ไข้หวัดใหญ่ที่เป็นจริงและทันสมัย -ทำงานเป็นทีมเชิงรุก -ผู้นำเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถในการป้องกันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ -มีแกนนำที่เป็นเยาวชนที่มีความรู้ความเข้าใจด้าน ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ -ผู้นำมีคุณธรรมและจริยธรรม -ชุมชนมีบัญชีบุคลาการและเครือข่ายทั้งหมด (แฟ้มข้อมูลภาวะวิกฤต)

  15. ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลคอกกระบือ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 2554( 2 ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) - เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตน พร้อมทั้งถ่ายทอดต่อครอบครัวให้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง -ชุมชนผลิตและใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก -ประชาชนที่ป่วยเป็นไข้หวัดทุกคนใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก -ชุมชนปลูกและใช้สมุนไพรต้านไข้หวัด -ทุกครัวเรือนต้องสะอาด -ประชาชนต้องล้างมือทุกครั้งก่อนทานอาหาร -ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังที่เข้มแข็ง -มีมาตรการทางสังคม -กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) -อบต.คอกกระบือมีส่วนร่วมในการสนับสนุนงบประมาณและร่วมดำเนินการ -อบต.คอกกระบือเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุ -หน่วยงานภาครัฐให้ความสนับสนุนด้านบุคลากร ทรัพยากร ความรู้ งบประมาณ ทำบัญชีครัวเรือน และขั้นตอนการทำงาน -โรงเรียนต้องให้ความร่วมมือและให้ความรู้ในการป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ -วัดเป็นตัวอย่างความสะอาดและถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน -กลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนปฏิบัติงานเชิงรุกทุกครัวเรือน -เอกชนและแกนนำในสถานประกอบการมีส่วนร่วมในการคัดกรองและเฝ้าระวังนักท่องเที่ยว ระดับกระบวนการ(มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) -มีการประชาสัมพันธ์อย่างครอบคลุมและต่อเนื่อง -สร้างและขยายเครือข่ายสุขภาพกับตำบลใกล้เคียง -เกิดการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลในเรื่องเกี่ยวกับไข้หวัดใหญ่ สายพันธุ์ใหม่ -มีการสร้างนวัตกรรมในการเฝ้าระวัง ควบคุมเกี่ยวกับ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ -มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ ระดับพื้นฐานองค์กร(มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) -มีข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของคนในชุมชนเกี่ยวกับ ไข้หวัดใหญ่ที่เป็นจริงและทันสมัย -ทำงานเป็นทีมเชิงรุก -ผู้นำเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถในการป้องกันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ -มีแกนนำที่เป็นเยาวชนที่มีความรู้ความเข้าใจด้าน ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ -ผู้นำมีคุณธรรมและจริยธรรม -ชุมชนมีบัญชีบุคลาการและเครือข่ายทั้งหมด (แฟ้มข้อมูลภาวะวิกฤต)

  16. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบล........... อำเภอ.......... จังหวัดสมุทรสาคร ภายในปี 2553 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการเฝ้าระวัง H1N1 ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดและดำเนินกิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมH1N1 ชุมชน มีมาตรการทางสังคมที่เด็ดขาด ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ ศอช. ภาคเอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) - เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติตน พร้อมทั้งถ่ายทอดต่อครอบครัวให้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง -ชุมชนผลิตและใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก -ประชาชนที่ป่วยเป็นไข้หวัดทุกคนใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก -ชุมชนปลูกและใช้สมุนไพรต้านไข้หวัด -ทุกครัวเรือนต้องสะอาด -ประชาชนต้องล้างมือทุกครั้งก่อนทานอาหาร -ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังที่เข้มแข็ง -มีมาตรการทางสังคม -กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะ อปท.และท้องที่นำร่องเรื่อง H1N1 ภาคี หน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องและเชิงรุก สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวัง H1 N2 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลในเรื่อง H1N1 บุคลากร และทายาททำงานเป็นทีม ในบรรยากาศที่เอื้ออำนวย ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย พื้นฐาน ผู้นำมีศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ความคิดเชิงบวก เชิงรุก

  17. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ต.คอกกระบือ อ.เมืองฯ จ.สมุทรสาคร ภายในปี 2554 (2 ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดและดำเนินกิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมไข้หวัดใหญ่ 2009 ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ ศอช. ภาคเอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก ภาคี อปท.และท้องที่นำร่องเรื่อง H1N1 หน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องและเชิงรุก ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) -อบต.คอกกระบือมีส่วนร่วมในการสนับสนุนงบประมาณและร่วมดำเนินการ -อบต.คอกกระบือเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุ -หน่วยงานภาครัฐให้ความสนับสนุนด้านบุคลากร ทรัพยากร ความรู้ งบประมาณ ทำบัญชีครัวเรือน และขั้นตอนการทำงาน -โรงเรียนต้องให้ความร่วมมือและให้ความรู้ในการป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ -วัดเป็นตัวอย่างความสะอาดและถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน -กลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนปฏิบัติงานเชิงรุกทุกครัวเรือน -เอกชนและแกนนำในสถานประกอบการมีส่วนร่วมในการคัดกรองและเฝ้าระวังนักท่องเที่ยว สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่ 2009 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลในเรื่องไข้หวัดใหญ่ 2009 ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย บุคลากร และทายาททำงานเป็นทีม ในบรรยากาศที่เอื้ออำนวย พื้นฐาน ผู้นำมีศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ความคิดเชิงบวก เชิงรุก

  18. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ต.คอกกระบือ อ.เมืองฯ จ.สมุทรสาคร ภายในปี 2554 (2 ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดและดำเนินกิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมไข้หวัดใหญ่ 2009 ระดับภาคี(มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) -อบต.คอกกระบือมีส่วนร่วมในการสนับสนุนงบประมาณและร่วมดำเนินการ -อบต.คอกกระบือเป็นศูนย์รับแจ้งเหตุ -หน่วยงานภาครัฐให้ความสนับสนุนด้านบุคลากร ทรัพยากร ความรู้ งบประมาณ ทำบัญชีครัวเรือน และขั้นตอนการทำงาน -โรงเรียนต้องให้ความร่วมมือและให้ความรู้ในการป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ -วัดเป็นตัวอย่างความสะอาดและถ่ายทอดความรู้สู่ชุมชน -กลุ่มองค์กรต่างๆในชุมชนปฏิบัติงานเชิงรุกทุกครัวเรือน -เอกชนและแกนนำในสถานประกอบการมีส่วนร่วมในการคัดกรองและเฝ้าระวังนักท่องเที่ยว ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ เอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก อบต.คอกกระบือสนับสนุนและร่วมดำเนินการเรื่อง ไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคี หน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องและเชิงรุก สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวัง H1 N2 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลในเรื่อง H1N1 บุคลากร และแกนนำทำงานเป็นทีม ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย บุคลากร และทายาททำงานเป็นทีม ในบรรยากาศที่เอื้ออำนวย ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย พื้นฐาน ผู้นำและทีมงานมีศักยภาพ มีคุณธรรม ผู้นำมีศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ความคิดเชิงบวก เชิงรุก

  19. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ต.คอกกระบือ อ.เมืองฯ จ.สมุทรสาคร ภายในปี 2554 (2 ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดและดำเนินกิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมไข้หวัดใหญ่ 2009 ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ เอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก ระดับพื้นฐานองค์กร(มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) -มีข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของคนในชุมชนเกี่ยวกับ ไข้หวัดใหญ่ที่เป็นจริงและทันสมัย -ทำงานเป็นทีมเชิงรุก -ผู้นำเข้มแข็ง มีความรู้ความสามารถในการป้องกันไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ -มีแกนนำที่เป็นเยาวชนที่มีความรู้ความเข้าใจด้าน ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ -ผู้นำมีคุณธรรมและจริยธรรม -ชุมชนมีบัญชีบุคลาการและเครือข่ายทั้งหมด (แฟ้มข้อมูลภาวะวิกฤต) อบต.คอกกระบือสนับสนุนและร่วมดำเนินการเรื่อง ไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคี หน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องและเชิงรุก สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่ 2009 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลในเรื่องไข้หวัดใหญ่ 2009 บุคลากร และทายาททำงานเป็นทีม ในบรรยากาศที่เอื้ออำนวย ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย พื้นฐาน ผู้นำมีศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ความคิดเชิงบวก เชิงรุก

  20. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ต.คอกกระบือ อ.เมืองฯ จ.สมุทรสาคร ภายในปี 2554 (2 ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดและดำเนินกิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมไข้หวัดใหญ่ 2009 ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ เอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก อบต.คอกกระบือสนับสนุนและร่วมดำเนินการเรื่อง ไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคี หน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องและเชิงรุก สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่ 2009 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลในเรื่องไข้หวัดใหญ่ 2009 บุคลากร และแกนนำทำงานเป็นทีม ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย พื้นฐาน ผู้นำและทีมงานมีศักยภาพ มีคุณธรรม

  21. ตัวอย่างแผนปฏิบัติการตัวอย่างแผนปฏิบัติการ สร้างจากยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ประสบการณ์จากอำเภอบางขัน นครศรีธรรมราช ประสบการณ์จากอำเภอบางขัน นครศรีธรรมราช (ก่อนใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์)

  22. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ต.คอกกระบือ อ.เมืองฯ จ.สมุทรสาคร ภายในปี 2554 (2 ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดและดำเนินกิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมไข้หวัดใหญ่ 2009 ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ เอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก อบต.คอกกระบือสนับสนุนและร่วมดำเนินการเรื่อง ไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคี หน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องและเชิงรุก สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่ 2009 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม บริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาลในเรื่องไข้หวัดใหญ่ 2009 กระบวนการ ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก บุคลากร และแกนนำทำงานเป็นทีม ผู้นำและทีมงานมีศักยภาพ มีคุณธรรม ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย พื้นฐาน

  23. ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ หาหัวใจความสำเร็จที่ทำให้เกิดเป้าประสงค์นี้ เขียนเฉพาะที่สำคัญ ใช้งบประมาณ เป็นการเลือกวิธีการ ที่เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม เพื่อที่จะทำให้ประสบความสำเร็จตามเป้าประสงค์ ที่กำหนดไว้ กลยุทธ์สร้างความเจริญเติบโต กลยุทธ์การรักษาเสถียรภาพ * ขยายงาน เพิ่มงาน/โครงการ * คงสภาพ * ส่งเสริม * พัฒนา * สนับสนุน * เร่งรัด กลยุทธ์ความถนัด กลยุทธ์การตัดทอน * ปรับปรุง * ทบทวนงาน/โครงการ * พัฒนา * ยกเลิกแผนงาน งาน/โครงการ * ลดกิจกรรม * ยุบเลิก/รวม

  24. ชั้นตอนที่ 6 สร้างแผนปฏิบัติการ (Mini-SLM)

  25. ความหมาย/ลักษณะแผนปฏิบัติการ (Mini – SLM) • เป็นแผน ที่สร้างเพื่อทำให้เห็นการดำเนินงานของแต่ละเป้าประสงค์ ที่ส่งผลต่องานขององค์กร เห็นบทบาทที่ต้องเชื่อมต่อของแต่ละเป้าประสงค์ ทำให้เกิดการเกื้อกูลกัน

  26. ประโยชน์ของการใช้แผนปฏิบัติการ • เพื่อยืนยันว่าวัตถุประสงค์ในการทำงานของผู้ปฏิบัติสอดคล้องกับขององค์กร • เพื่อให้มีการหารือระหว่างสมาชิกในทีมเกี่ยวกับจุดหมายปลายทางและเป้าหมายที่มีร่วมกันและที่เป็นของแต่ละคน • หัวหน้าและสมาชิกในทีมเข้าใจวัตถุประสงค์ตรงกัน • ช่วยให้การพัฒนาคนทำได้ตรงตามความต้องการขององค์กร • ทำให้การประเมินผลงานทำได้อย่างมีเหตุผล • สามารถนำไปใช้ในระบบการให้ความดีความชอบด้วยผลงาน

  27. การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบล (Mini-SLM) • แทนที่เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ในแผนที่ ฯ SLM ด้วยกิจกรรมสำคัญที่เป็นตัวกำหนด KPI ( จากตาราง 11 ช่อง) • แทรกกิจกรรมเสริมโดยนำมาจากกิจกรรมอื่นๆในตาราง 11 ช่อง • (ที่เป็นตัวกำหนด PI) จัดเรียงลำดับก่อนหลังแล้วเชื่อมโยงด้วยลูกศร

  28. แผนปฏิบัติการ(Mini-SLM) การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลคอกกระบือ อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ภายในปี 255……(....ปี) กำหนดวันที่ 7 พฤษภาคม 2553 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ตำบลคอกกระบือ อ.เมือง จ.สมุทรสาคร ภายในปี 255……(....ปี) กำหนดวันที่ 6 พฤษภาคม 2553 ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในการเฝ้าระวัง H1N1 ประชาชนมีส่วนร่วมกำหนดและดำเนินกิจกรรมฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมH1N1 กิจกรรมสำคัญ................................ ....................................................... (KPI…………………………………) ชุมชน มีมาตรการทางสังคมที่เด็ดขาด ประชาชน กิจกรรมสำคัญ.......................... .................................................. (KPI……………………………..) ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มี ประสิทธิภาพ ศอช. ภาคเอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก กิจกรรมสำคัญ................................. (KPI…………………………………..) อปท.และท้องที่นำร่องเรื่อง H1N1 ภาคี หน่วยงานภาครัฐทำงานสอดคล้องและเชิงรุก กิจกรรมสำคัญ.......................... (KPI……………………………..) สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวัง H1 N2 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม ระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ต่อเนื่อง เชิงรุก กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลในเรื่อง H1N1 กิจกรรมสำคัญ............................. (KPI………………………………..) บุคลากร และทายาททำงานเป็นทีม ในบรรยากาศที่เอื้ออำนวย ระบบข้อมูลพฤติกรรมและทรัพยากรของชุมชนเป็นจริง ทันสมัย พื้นฐาน กิจกรรมสำคัญ............................... (KPI………………………………….) ผู้นำมีศักยภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม ความคิดเชิงบวก เชิงรุก

  29. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)การเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ต.คอกกระบือ อ.เมืองฯ จ.สมุทรสาคร ภายในปี 2554 (2 ปี) กำหนดวันที่ 7 พฤษภาคม 2553 ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 แกนนำนร.ดำเนินกิจกรรมตามที่อบรมมา (นักเรียนปฏิบัติตนและนำความรู้ไปเผยแพร่แก่ครอบครัวและชุมชนอย่างต่อเนื่อง) ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน เฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่เชิงรุกในชุมชน (อสม.คัดกรองกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เมื่อมีการระบาด) เอกชนและกลุ่มองค์กรในชุมชนมีความเข้มแข็งและทำงานเชิงรุก อบต.ดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคเชิงรุก (อบต.ให้การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงรุกในพื้นที่) ภาคี ให้ความรู้บุคลากรในรร. (บุคลากรในรร.ปฏิบัติตนและถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนเป็นประจำ) สร้างและขยายเครือข่ายเฝ้าระวังไข้หวัดใหญ่ 2009 ทั้งภายในและภายนอกอย่างเข้มแข็ง รวมทั้งนวัตกรรม จัดการประชาสัมพันธ์ในช่วงระบาด (อบต.,นร.,อสม.,รง. ประชาสัมพันธ์ให้กับชุมชนกลุ่มเป้าหมายอย่างต่อเนื่อง) กระบวนการ บริหารจัดการตามหลักธรรมา ภิบาลในเรื่องไข้หวัดใหญ่ 2009 บุคลากร และแกนนำทำงานเป็นทีม ผู้นำและทีมงานมีศักยภาพ มีคุณธรรม เผยแพร่ข้อมูลให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีการแลกเปลี่ยนข้อมูล) พื้นฐาน

  30. แผนปฏิบัติการ สร้างจากยุทธศาสตร์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน ประชาชนมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/พฤติกรรม เฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่เชิงรุกในชุมชน แกนนำนร.ดำเนินกิจกรรมตามที่อบรมมา อบต.ดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคเชิงรุก ให้ความรู้บุคลากรในรร. จัดการประชาสัมพันธ์ในช่วงระบาด เผยแพร่ข้อมูลให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตำบลคอกกระบือ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

  31. หลังการเปิดงาน • ควรเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติ ซึ่งรวมถึงประชาชนด้วยได้ใช้ความคิดริเริ่มเพื่อสร้างนวัตกรรมในระหว่างปฏิบัติงาน • ส่วนผู้บริหารมีหน้าที่ตัดสินใจในการปรับกระบวนการหรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ทุกไตรมาสเช่นเดียวกัน

  32. การปรับแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการการปรับแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ การติดตามความก้าวหน้า ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ระดับผู้บริหาร ปรับกระบวนการ ปรับกระบวนการ ปรับแผนที่ สัดส่วนเวลา ปรับกระบวนการ/แผนที่ SLM อภิปราย ทบทวนปฏิบัติการ ระดับปฏิบัติการ สัดส่วนเวลา ปฏิบัติใหม่ (นวัตกรรม อภิปราย ทบทวนกิจกรรม

  33. งบประมาณ เวทีในพื้นที่ • จัดเวทีที่ตำบลจัดการสุขภาพ • 1 ตำบล (15คน) และมี • 4 ตำบล (ตำบลละ 5คน) • ศูนย์ 3 คน สสจ.2 คน • ค่าอาหารกลางวันและ อาหารว่าง • คนละ 125 บาท (125*40=5,000) • ค่าเดินทาง พื้นที่ที่จัด คนละ 200 บาท • ตำบลอื่น คนละ 300 บาท(200*15)+(300*20)=9,000) • รวม 14,000 บาท

  34. สวัสดี สุกัญญา คงงาม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์ฝึกแบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน ภาคกลาง E-mail deangkh@gmail.com โทรฯ 08-9298-6331

More Related