1 / 62

ฐานข้อมูลออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

ฐานข้อมูลออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต. อ. สกนธ์ ม่วง สุน ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์. หมายถึง แหล่งจัดเก็บข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำข้อมูลต่างๆ เหล่านี้มาใช้ประโยชน์ร่วมกัน โดยข้อมูลที่จัดเก็บจะถูกปรับปรุง คัดแยก จัดเรียงและให้บริการสืบค้นต่อไป.

tate-dyer
Download Presentation

ฐานข้อมูลออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ฐานข้อมูลออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตฐานข้อมูลออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อ. สกนธ์ ม่วงสุน ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์

  2. หมายถึง แหล่งจัดเก็บข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำข้อมูลต่างๆ เหล่านี้มาใช้ประโยชน์ร่วมกัน โดยข้อมูลที่จัดเก็บจะถูกปรับปรุง คัดแยก จัดเรียงและให้บริการสืบค้นต่อไป ฐานข้อมูล (Database)

  3. สามารถแบ่งได้หลายลักษณะ ซึ่งอาจแบ่งตามเนื้อหา หรือลักษณะของข้อมูล ที่ได้จัดเก็บอยู่ในฐานข้อมูล เช่น ข้อมูลด้านวิทยานิพนธ์ จะเรียกฐานข้อมูลนี้ตามเนื้อหาของข้อมูลว่า “ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์” ประเภทฐานข้อมูล

  4. ฐานข้อมูลด้านวิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย จะเรียกว่า “ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์” http://tdc.thailis.or.th/tdc/ ตัวอย่างฐานข้อมูล

  5. ฐานข้อมูล สาขาศิลปะ สถาปัตยกรรม มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ จากคอลเลกชั่นต่างๆ ในพิพิธภัณฑ์และหอศิลป์ทั่วโลกมากกว่า 150 แห่งhttp://library.artstor.org/library/welcome.html ตัวอย่างฐานข้อมูล(ต่อ)

  6. ฐานข้อมูลงานวิจัยด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฐานข้อมูลงานวิจัยด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ http://portal.acm.org/ ตัวอย่างฐานข้อมูล(ต่อ)

  7. ฐานข้อมูลอื่นๆ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.lib.su.ac.th/db.asp ตัวอย่างฐานข้อมูล(ต่อ)

  8. การใช้ประโยชน์จากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เป็นที่นิยมคือ เว็บไซต์(Website)สารสนเทศส่วนใหญ่ถูกนำเสนอผ่านทางเว็บไซต์ซึ่งปัจจุบันมีเว็บไซต์โดยประมาณ 357,292,065ไซต์ ความสำคัญของเครือข่าย WWW สถิติ เดือนกรกฏาคม 2011 อ้างอิงจาก http://news.netcraft.com/archives/2011/07/08/july-2011-web-server-survey.html

  9. Googleถือเป็นฐานข้อมูลหรือไม่ ?

  10. เป็นคำที่ใช้เรียกเครื่องมือหรือระบบที่ช่วยค้นหาสารสนเทศจากเครือข่าย Wolrd Wide Web ขั้นตอนการทำงานหลักๆ ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ เว็บเสิร์ชเอนจิ้น (Web Search Engines) 1. ค้นหา (Crawling) 2. จัดทำดรรชนี (Indexing) 3. ให้บริการค้นคืน (Retrieval)

  11. ปริมาณการใช้เว็บเสิร์ชเอนจิ้นจากบริษัทต่างๆ เว็บเสิร์ชเอนจิ้น (Web Search Engines)

  12. www.googgle.co.th

  13. www.yahoo.com

  14. www.baidu.com

  15. www.bing.com

  16. 1. Free text Search Engines 2. Index or Directory Search Engines 3. Multi or Meta Search Engines 4. Natural language Search Engines 5. Resource or Site Specific Search Engines ประเภทของ Search Engines

  17. เป็น Search Engine ที่สามารถค้นได้โดยใช้คำค้นเพียงคำเดียว หรือหลายๆ คำได้ 1. Free Text Search Engine

  18. ข้อดี ใช้งานง่าย โดยเพียงแค่คิดคำที่ต้องการ ก็สามารถค้นหาและได้ผลลัพธ์กลับคืนมาอย่างรวดเร็ว ข้อเสีย - คุณภาพของผลการค้นจะขึ้นอยู่กับความสามารถในการกำหนดคำค้นของผู้ที่ต้องการค้นหาผู้ค้นต้องทราบแน่ชัดว่าการสารสนเทศเรื่องใดและทราบคำศัพท์ที่จะใช้ในการค้น 1. Free Text Search Engine(ต่อ)

  19. ดังนั้น เสิร์ชเอนจิ้นประเภทนี้จึงเหมาะกับการค้นหาสารสนเทศเฉพาะเรื่องมากกว่าการค้นหาเรื่องทั่วๆ ไป เนื่องจากจะมีปัญหาในการกำหนดคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปใช้ในการค้น 1. Free Text Search Engine(ต่อ)

  20. - Google (http://www.google.com) - Bing (http://www.bing.com) - Yahoo (http://www.yahoo.com) - Lycos (http://www.lycos.com) - All the Web (http://www.alltheweb.com) - Alta Vista (http://www.altavista.com) - Excite (http://www.excite.com) - Hotbot (http://www.hotbot.com) ตัวอย่าง Search Engine ประเภท Free Text

  21. ตัวอย่าง Search Engine ประเภท Free Text

  22. ตัวอย่าง Search Engine ประเภท Free Text

  23. ตัวอย่าง Search Engine ประเภท Free Text

  24. เป็นเสิร์ชเอนจิ้นที่จัดทำดรรชนี และจัดกลุ่มข้อมูลตามหัวเรื่อง ภายใต้หัวเรื่องจะทำการแบ่งย่อยหัวเรื่องตามลำดับจากเรื่องทั่วไปจนนำไปสู่เรื่องเฉพาะเจาะจงมากขึ้น โครงสร้างการจัดทำหมวดหมู่จะถูกกำหนดไว้ก่อนล่วงหน้าโดยมนุษย์ จากนั้นจึงนำข้อมูลจากเว็บไซต์ต่างๆ ที่รวบรวมไปจัดเก็บตามหมวดหมู่ที่จัดทำไว้ 2. Index or Directory Search Engines

  25. ข้อดี 1. การแบ่งหมวดหมู่ที่ชัดเจนช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลจากประเด็นกว้างๆ ที่ยังไม่ชัดเจนไปสู่ประเด็นเฉพาะเจาะจง ดังนั้น ในการค้น ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องที่ค้นหรือไม่จำเป็นต้องรู้คำศัพท์เฉพาะมาก่อน 2. Index or Directory Search Engines

  26. ข้อเสีย คือ 1. หากกำหนดโครงสร้างของหมวดหมู่หรือการกำหนดคำแทนหมวดหมู่ไม่ชัดเจน ไม่สมเหตุสมผล อาจสร้างความสับสนให้ผู้ใช้ได้ 2. หากผู้ใช้ต้องการสารสนเทศในหมวดหมู่ย่อยในระดับลึก ผู้ใช้ต้องเสียเวลาในการเลือกเข้าไปทีละระดับ จนถึงระดับที่ต้องการ 2. Index or Directory Search Engines

  27. - Yahoo (http://www.yahoo.com) - Sanook (http://www.sanook.com) - Look Smart (http://www.looksmart.com) - Galaxy (http://www.einet.net) ตัวอย่าง Index or Directory Search Engines

  28. ตัวอย่าง Index or Directory Search Engines

  29. ตัวอย่าง Index or Directory Search Engines

  30. อาจจัดได้ว่าไม่ใช่เสิร์ชเอนจิ้นที่แท้จริง เนื่องจากไม่ได้ทำการสืบค้นข้อมูลเอง แต่จะส่งต่อข้อคำถามของผู้ใช้ (Query) ไปให้ Search Engines ตัวอื่น ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความร่วมมือระหว่างกัน ดังนั้น ผลการค้นที่ได้จึงเป็นผลการค้นหาจากฐานข้อมูล เสิร์ชเอนจิ้นตัวอื่น ไม่ใช่ของ Multi Search Engine เอง Multi or Meta Serach Engines

  31. ข้อดี 1. ผู้ใช้สามารถค้นเรื่องที่ต้องการได้จากแหล่งเดียว ไม่ต้องเสียเวลาไปค้นจากหลายแหล่ง 2. สามารถเปรียบเทียบผลลัพธ์จากหลายแหล่ง ทำให้มีโอกาสได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการได้มาก เนื่องจากเสิร์ชเอนจิ้นเพียงแหล่งเดียวอาจรวบรวมข้อมูลไม่ครอบคลุมทั้งหมด Multi or Meta Serach Engines

  32. ข้อเสีย 1. รูปแบบคำค้นที่เสิร์ชเอนจิ้นแต่ละตัวมีความแตกต่างกัน ในบางกรณีการสร้างข้อคำถามอาจมีการใช้ตัวเชื่อมคำค้นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตรงตามความต้องการมากที่สุด ดังนั้น หาก Multi Search Engineใช้ข้อคำถามเดียวจากหน้าจอของตนเองแล้วส่งไปถามเสิร์ชเอนจิ้นตัวอื่น อาจทำให้ผลการค้นไม่เที่ยงตรงหรือไม่เป็นไปตามที่ต้องการทั้งหมด เนื่องจากเสิร์ชเอนจิ้นบางตัวอาจไม่เข้าใจข้อคำถามนั้นๆ Multi or Meta Search Engines

  33. - Metacrawler (http://www.metacrawler.com) - ProFusion (http://www.profusion.com) - Dogpile (http://www.dogpile.com) - EZ2WWW (http://www.ez2www.com) - Katoo (http://www.katoo.com) - Ixquick (http://www.ixquick.com) ตัวอย่าง Multi or Meta Search Engines

  34. ตัวอย่าง Multi or Meta Search Engines

  35. ตัวอย่าง Multi or Meta Search Engines

  36. เสิร์ชเอนจิ้นประเภทนี้ สามารถนำคำค้นที่เป็นภาษาธรรมชาติหรือคำถามที่ใช้ในชีวิตประจำวันมาใช้ในการสืบค้นข้อมูล โดยเสิร์ชเอนจิ้นประเภทนี้จะนำข้อคำถามแยกเป็นคำแล้วนำไปเปรียบเทียบกับคำศัพท์ชนิดอื่นๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียง หรือที่มีความเกี่ยวข้องกัน 4. Natural-language Search Engine

  37. ข้อดี 1. ผู้ใช้สามารถค้นเรื่องที่ต้องการได้โดยใช้คำที่เป็นภาษาธรรมชาติ โดยอาจพิมพ์เป็นประโยคคำถามที่คิดจะถามในชีวิตประจำวัน ซึ่งทำให้ไม่ต้องคัดเลือกคำศัพท์ที่จะนำมาใช้ในการค้นหา 4. Natural-language Search Engine

  38. ข้อเสีย 1. อาจได้ผลลัพธ์ไม่ตรงกับความต้องการ เนื่องจากการค้นหาโดยใช้ข้อคำถามที่เป็นภาษาธรรมชาติ หากมีการตัดคำหรือประมวลผลข้อคำถามไม่ดีพอ โอกาสที่จะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ไม่ตรงกับความต้องการมีค่อนข้างสูง 4. Natural-language Search Engine

  39. - Ask (http://www.ask.com) - Ask Jeeves (http://uk.ask.com) ตัวอย่าง Natural-language Search Engine

  40. ตัวอย่าง Natural-language Search Engine

  41. เป็นเสิร์ชเอนจิ้นที่จัดทำเพื่อใช้ค้นหาข้อมูลในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเฉพาะ หรือจัดทำขึ้นเพื่อค้นหาข้อมูลจากทรัพยากรประเภทใดประเภทหนึ่งเท่านั้น ข้อมูลที่จัดเก็บอาจไม่มีในเสิร์ชเอนจิ้นทั่วไป 5. Resource or Site-Specific Search Engines

  42. ข้อดี 1. ผู้ใช้สามารถค้นหาประเภทของสารสนเทศได้ตรงตามความต้องการมากขึ้น เนื่องจากเป็นเสิร์ชเอนจิ้นเฉพาะเรื่องจึงรวบรวมข้อมูลเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นๆ ทำให้ข้อมูลสารสนเทศในเสิร์ชเอนจิ้นประเภทนี้มีข้อมูลในเชิงลึกมากกว่าเสิร์ชเอนจิ้นทั่วไป เมื่อค้นหาผ่านเสิร์ชเอนจิ้นประเภทนี้ ผลลัพธ์ที่ได้จึงมีโอกาสตรงตามความต้องการมากกว่า 5. Resource or Site-Specific Search Engines

  43. ข้อเสีย 1. ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นหา อาจจะไม่ได้สิ่งที่มีความสัมพันธ์กับสิ่งที่ค้นออกมาด้วย เช่น ค้นหาสูตรอาหารในเว็บไซต์ yummly ก็จะได้เฉพาะข้อมูลการทำอาหารออกมา อาจไม่ได้เว็บไซต์ที่มีเนื้อหาอธิบายรายละเอียดหรือให้ข้อมูล ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสูตรอาหารนั้นๆ ออกมาด้วย เช่น คุณค่าทางสมุนไพร 5. Resource or Site-Specific Search Engines

  44. Images - Lycos Multimedia (http://multimedia.lycos.com) Recipe - yummly (http://www.yummly.com/) Traveling - Goby Inc. (http://www.goby.com/) ตัวอย่าง Resource or Site-Specific Search Engines

  45. ตัวอย่าง Resource or Site-Specific Search Engines

  46. ตัวอย่าง Resource or Site-Specific Search Engines

  47. บน www ด้วย การสืบค้นสารสนเทศ

  48. ด้วยตัวอักษร การสืบค้น Search by Free Text

  49. เป็นการค้นหาโดยมีคำค้นมากกว่า 2 คำขึ้นไป และทำการเชื่อมระหว่างคำด้วย + - OR การค้นหาแบบบูลีน(Boolean)

  50. 1. ต้องการเว็บที่เกี่ยวกับสุนัข แมว และนก โจทย์

More Related