1 / 87

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ และ

“โครงการเสริมสร้างความรู้ผู้ประกอบกิจการคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็นเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC”. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ และ ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. หัวข้อนำเสนอ.

tave
Download Presentation

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ และ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “โครงการเสริมสร้างความรู้ผู้ประกอบกิจการคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็นเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC” ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัทธ์ พิศาลวานิช คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ และ ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

  2. หัวข้อนำเสนอ 1. ภาพรวมของบริการโลจิสติกส์ของประเทศอาเซียนภายใต้ AEC 2. บริการด้านโลจิสติกส์และกิจการรับฝากเก็บสินค้าของไทย 3. บริการด้านโลจิสติกส์และกิจการรับฝากเก็บสินค้าของมาเลเซีย 4. บริการด้านโลจิสติกส์และกิจการรับฝากเก็บสินค้าของสิงคโปร์ 5. บริการด้านโลจิสติกส์และกิจการรับฝากเก็บสินค้าของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 6. บริการด้านโลจิสติกส์และกิจการรับฝากเก็บสินค้าของเมียนมาร์ 7. ข้อเสนอแนะเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับธุรกิจด้านโลจิสติกส์และ กิจการรับฝากเก็บสินค้าของไทยเพี่อเตรียมเข้าสู่การเป็น AEC

  3. ภาพรวมของบริการโลจิสติกส์ของประเทศอาเซียนภาพรวมของบริการโลจิสติกส์ของประเทศอาเซียน ภายใต้ AEC

  4. ภาพรวมของบริการโลจิสติกส์ของประเทศอาเซียนภายใต้ AEC ภายใต้กรอบอาเซียน มีการกำหนดแผนงานรวมกลุ่มบริการโลจิสติกส์อาเซียน (Roadmap for the Integration of Logistic Services) ในแผนงานประกอบด้วย 5 มาตรการ ดังนี้ • การเปิดเสรีบริการโลจิสติกส์อย่างมีนัยสำคัญ • การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของอาเซียน • การเพิ่มความสามารถให้กับผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของอาเซียน เช่น การสนับสนุนการพัฒนาของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในสาขาบริการโลจิสติกส์ การพัฒนาฐานข้อมูลผู้ให้บริการโลจิสติกส์เพื่อนำไปสู่การสร้างเครือข่ายผู้ให้บริการโลจิสติกส์อาเซียน • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เช่น การส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านโลจิสติกส์อาเซียน • การเสริมสร้างสาธารณูปโภคและการลงทุนสำหรับการขนส่งต่อเนื่องในหลายรูปแบบ เช่น การพัฒนาโครงข่ายเส้นทางการค้าหลักของอาเซียน

  5. ขอบเขตของบริการโลจิสติกส์ ภายใต้ AEC หมายเหตุ: * การขนส่งสินค้าทางอากาศอยู่ในความดูแลของกระทรวงคมนาคมซึ่งมีการเปิดการเจรจาเฉพาะ ไม่ได้นำมา เจรจาร่วมในการเจรจาเปิดตลาดการค้าบริการ ภายใต้กรอบอาเซียนชุดที่ 7 (The 7th Package of Commitments under ASEAN Framework Agreement on Services) ** ประกอบด้วยการตรวจสอบใบขน นายหน้าค่าระวาง การตรวจสอบค่าระวาง การชั่งน้ำหนักและสุ่มตรวจ การรับและยอมรับค่าระวาง การจัดเตรียมเอกสารการขนส่ง กิจกรรมเหล่านี้เป็นการให้บริการทำธุรกรรมในนามของเจ้าของสินค้า ที่มา: ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาลัยหอการค้าไทย เอกสารวิชาการหมายเลข 3 “โอกาสและอุปสรรคของธุรกิจ โลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน”

  6. เปรียบเทียบข้อผูกพันของแต่ละประเทศในสาขาบริการโลจิสติกส์เปรียบเทียบข้อผูกพันของแต่ละประเทศในสาขาบริการโลจิสติกส์ ที่มา: ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาลัยหอการค้าไทย เอกสารวิชาการหมายเลข 3 “โอกาสและอุปสรรคของธุรกิจ โลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน”

  7. เปรียบเทียบข้อผูกพันของแต่ละประเทศในสาขาบริการโลจิสติกส์ (ต่อ) ที่มา: ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาลัยหอการค้าไทย เอกสารวิชาการหมายเลข 3 “โอกาสและอุปสรรคของธุรกิจ โลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน”

  8. หลักเกณฑ์การเปิดเขตการค้าเสรีในภาคบริการขององค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) หลักเกณฑ์ตามรูปแบบของให้บริการ (Modes of supply) ตามรูปแบบสากลที่อาเซียนถือปฏิบัติมีทั้งหมด 4 รูปแบบ ดังนี้

  9. อุปสรรคต่อการค้าภาคบริการอุปสรรคต่อการค้าภาคบริการ

  10. ประเภทของบริการที่เกี่ยวข้องด้านโลจิสติกส์ประเภทของบริการที่เกี่ยวข้องด้านโลจิสติกส์ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท

  11. บริการด้านโลจิสติกส์ • และกิจการรับฝากเก็บสินค้าของไทย • สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย • สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย

  12. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย • บริการโลจิสติกส์ของไทยมีความหลากหลาย คล่องตัว และมีความยืดหยุ่นในการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี • ผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า และสามารถสร้างฐานการผลิตได้อย่างเหนียวแน่น • โครงสร้างพื้นฐานทางบก ถนน และรางรถไฟของไทยมีความสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพเพียงพอ มีความพร้อมในด้านอุปกรณ์ในการดำเนินการขนส่ง • ปัจจุบันจุดที่ถือว่าเป็นทำเลทองของด้านโลจิสติกส์ของไทย ได้แก่ ย่านภาคตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากเป็นจุดยุทธศาสตร์ทางด้านโลจิสติกส์ โดยเฉพาะธุรกิจคลังสินค้ามีแนวโน้มที่จะเติบโตจากปัจจัยหลายด้าน

  13. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย • การศึกษาความพร้อมในด้านต่างๆ ของบริการโลจิสติกส์ไทยของศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยการสำรวจความคิดเห็นของผู้ประกอบการ • หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความพร้อม ประกอบด้วย ความพร้อมด้านปัจจัยการผลิต ด้านกลุ่มวิสาหกิจและอุตสาหกรรม ด้านกลยุทธ์ของธุรกิจและการแข่งขัน และด้านภาครัฐฯ • ความพร้อมของไทยอยู่ในระดับปานกลาง ความพร้อมในด้านต่างๆ ของประเทศไทยในธุรกิจบริการโลจิสติกส์ ที่มา: ศูนย์ศึกษาการค้าระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

  14. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย เปรียบเทียบตัวชี้วัดด้านการขนส่งโลจิสติกส์ที่สำคัญระหว่างไทยกับ ประเทศคู่แข่งในอาเซียน ที่มา: World Bank และ International Institute of Management Development (2012) เมื่อพิจารณาจากตัวชี้วัดด้านการขนส่งโลจิสติกส์มาเปรียบเทียบระหว่างไทยกับประเทศคู่แข่งที่สำคัญในอาเซียนแล้ว สถานะของไทยอยู่ในระดับปานกลาง ยังเป็นรองสิงคโปร์และมาเลเซีย แต่เหนือกว่าอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม

  15. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย • แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย (พ.ศ. 2550-2554) • การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ในภาคการผลิต • (Business LogisticsImprovement) • 2) การเพิ่มประสิทธิภาพระบบขนส่งและโลจิสติกส์ • (Transport and Logistics NetworkOptimization) • การพัฒนาธุรกิจโลจิสติกส์ • (Logistics Service Internationalization) • 4) การปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า • (Trade Facilitation Enhancement) • 5) การพัฒนากำลังคนและกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ • (Capacity Building)

  16. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย ยุทธศาสตร์โลจิสติกส์ของไทย ปี พ.ศ. 2556-2560 แบ่งเป็น 3 กลุ่มหลัก

  17. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย ยุทธศาสตร์โลจิสติกส์ของไทย ปี พ.ศ. 2556-2560 ของไทย ได้ให้ความสำคัญใน 4 ประเด็น

  18. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แบ่งโครงสร้างของบริการโลจิสติกส์ไทย ออกเป็น 5 ประเภท

  19. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย ต้นทุนด้านโลจิสติกส์ของไทย ประกอบไปด้วย ต้นทุนของกิจกรรมต่างๆ ทั้งสิ้น 4 กิจกรรม

  20. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย ต้นทุนโลจิสติกส์ไทย ปี พ.ศ. 2548-2555 ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หมายเหตุ: p หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น e หมายถึง ข้อมูลประมาณการ • ต้นทุนโลจิสติกส์ของไทย จะอยู่ที่ต้นทุนค่าขนส่งสินค้า และต้นทุนการถือครองสินค้ามากที่สุด รองลงมา คือ ต้นทุนการบริหารจัดการและต้นทุนบริหารคลังสินค้า • ต้นทุนโลจิสติกส์ไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548-2555 มีมูลค่าเพิ่มขึ้นทุกปี ในปี พ.ศ. 2555 พบว่า ต้นทุนค่าขนส่งสินค้ามีมูลค่า 851.2 พันล้านบาท ต้นทุนการถือครองสินค้ามีมูลค่า 692.4 พันล้านบาท และเมื่อรวมต้นทุนทุกกิจกรรมแล้ว พบว่า ต้นทุนโลจิสติกส์ไทยในปี พ.ศ. 2555 มีมูลค่า 1,711.6 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2554 ซึ่งมีมูลค่า 1,641.9 พันล้านบาท

  21. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย ต้นทุนโลจิสติกส์ไทย ปี พ.ศ. 2548-2555 ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หมายเหตุ: p หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น e หมายถึง ข้อมูลประมาณการ

  22. สถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทยสถานการณ์ด้านโลจิสติกส์ของไทย สัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ ต่อ GDP ของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2548-2555 หน่วย: ร้อยละ ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หมายเหตุ: p หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น e หมายถึง ข้อมูลประมาณการ • เมื่อเปรียบเทียบต้นทุนโลจิสติกส์รวมของไทยต่อ GDP ของประเทศ พบว่า ต้นทุนโลจิสติกส์มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 14-17 ต่อ GDP นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้น • ในปี พ.ศ. 2555 มีสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์รวมของไทยต่อ GDP ของประเทศเท่ากับร้อยละ 14.3 ซึ่งลดลงจากปี พ.ศ. 2554 ซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 14.7

  23. สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยสถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย จำนวนผู้ประกอบการ และความจุ ของกิจการคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็นสาธารณะ ตามประกาศกรทรวงพาณิชย์ฯ พ.ศ.2535 เดือน กรกฏาคม ปี พ.ศ. 2556 ที่มา: สำนักส่งเสริมและบริหารระบบตลาด

  24. สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยสถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย เปรียบเทียบจำนวนผู้ประกอบการ และความจุ ของกิจการคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็นสาธารณะ ตามประกาศกระทรวงพาณิชย์ฯ พ.ศ.2535 ระหว่างเดือน มีนาคม ปี พ.ศ. 2555 กับ เดือน มีนาคม ปี พ.ศ.2556 ที่มา: สำนักส่งเสริมและบริหารระบบตลาด

  25. สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยสถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย เปรียบเทียบจำนวนผู้ประกอบการ ของคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็นสาธารณะ ระหว่างเดือน มีนาคม ปี พ.ศ. 2555 กับ เดือน มีนาคม ปี พ.ศ.2556 ที่มา: สำนักส่งเสริมและบริหารระบบตลาด

  26. สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยสถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย เปรียบเทียบความจุ ของคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็นสาธารณะ ระหว่าง เดือน มีนาคม ปี พ.ศ. 2555 กับ เดือน มีนาคม ปี พ.ศ.2556 ที่มา: สำนักส่งเสริมและบริหารระบบตลาด

  27. สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยสถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย ความจุของคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น รายภูมิภาค ณ กรกฏาคมปี พ.ศ.2556 หน่วย: ล้านตัน ที่มา: สำนักส่งเสริมและบริหารระบบตลาด

  28. สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยสถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย ความจุของคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น ณ กรกฏาคมปี พ.ศ.2556 แยกรายภูมิภาค หน่วย: ล้านตัน ที่มา: สำนักส่งเสริมและบริหารระบบตลาด

  29. สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยสถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย หน้าที่ของคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็นของไทย • เก็บรักษาสินค้า ให้บริการเกี่ยวกับสินค้า • สามารถนำไปเป็นหลักประกันในการกู้ยืมเงิน โดยเอาสินค้าที่ฝากไว้จำนำไว้เป็นประกันแก่ผู้ประกอบกิจการคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น ซึ่งผู้ประกอบกิจการคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น จะได้รับดอกเบี้ย หรือประโยชน์อื่นใดเป็นค่าตอบแทน • ให้บริการด้านความเย็นในการเก็บรักษาสินค้า หรือรับอบพืชลดความชื้น กะเทาะ คัดผสม หรือกรรมวิธีอย่างอื่น เพื่อประโยชน์แก่ผู้ฝาก • ซื้อขาย แลกเปลี่ยน เช่า ให้เช่า เช่าซื้อกู้ยืม จำนอง จำนำ เพื่อประโยชน์ในการประกอบกิจการคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น • กระทำการใด ๆ ตามแบบพิธีการเกี่ยวกับการศุลกากร การนำเข้า การส่งออก การขนส่งสินค้า และการประกันภัยสินค้า เป็นต้น

  30. สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยสถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย ประโยชน์ของคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็นของไทย

  31. สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยสถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย ยุทธศาสตร์เพื่อเตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของสินค้า บริการ การค้าและการลงทุน ครอบคลุมในด้านพัฒนาศักยภาพการผลิต มาตรฐานสินค้าบริการ และการตลาด ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการคุ้มครองทางสังคม เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองทางสังคม ได้รับการคุ้มครองแรงงาน มีสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ที่มั่นคงปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ เพื่อให้โครงสร้างพื้นฐานมีความเชื่อมโยงและมีขีดความสามารถในการรองรับและมีกฎระเบียบที่อำนวยความสะดวกทั้งการค้าและการลงทุน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้มีมาตรฐานการศึกษาอาเซียน รวมทั้งทักษะฝีมือและภาษา ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนากฎหมายและกฎระเบียบ เพื่ออำนวยความสะดวกด้านการค้า การลงทุน รวมทั้งสามารถปกป้องผลประโยชน์และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การสร้างความรู้ ความเข้าใจและความตระหนักถึงความสำคัญของอาเซียน เพื่อให้ประชาชนทั่วไป ผู้ประกอบการ เจ้าหน้าที่ของรัฐเข้าใจและตระหนักถึงการเป็นประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 7 การเสริมสร้างความมั่นคง เน้นสร้างความร่วมมือ สร้างพันธมิตร การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนทั้งทางบก ทางทะเล รวมถึงการสร้างปัจจัยสนับสนุนต่าง ๆ ยุทธศาสตร์ที่ 8 การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน เพื่อทำให้เมืองมีศักยภาพที่จะเชื่อมโยงกับสมาชิกอาเซียน ทั้งในด้านอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การลงทุนและการค้าชายแดน ภาครัฐได้ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาด้านโลจิสติกส์ โดยได้กำหนดการพัฒนาไว้ใน ยุทธศาสตร์ที่ 3 ข้างต้น

  32. สถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยสถานการณ์ด้านกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย • สำนักส่งเสริมและบริหารระบบตลาด กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ตระหนักถึงความสำคัญในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับ AEC ของธุรกิจคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็นของไทย จึงได้กำหนดเป็นยุทธศาสตร์ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบกิจการคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น ให้มีมาตรฐานในการประกอบกิจการ และเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญของ AEC ให้กับผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ โดยมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ คือ • เพื่อสร้างประสิทธิภาพในการบริหารจัดการด้านการรับฝากเก็บสินค้าให้ได้รับความเชื่อถือและความนิยมแก่ผู้ใช้บริการอันเป็นการสร้างพื้นฐานที่มั่นคงแก่การพัฒนากิจการคลังสินค้า ไซโล ห้องเย็น และระบบตลาดของประเทศ รวมทั้งพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบกิจการ • เพื่อสนับสนุนให้ผู้ประกอบกิจการตลาดกลาง คลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถอาศัยโอกาสทั้งจากด้านบวกและด้านลบ จากการเข้าสู่ AEC ได้อย่างมีประสิทธิภาพในปี พ.ศ. 2558

  33. หน่วยงานที่กำกับดูแลธุรกิจด้านโลจิสติกส์ของไทยหน่วยงานที่กำกับดูแลธุรกิจด้านโลจิสติกส์ของไทย

  34. หน่วยงานที่กำกับดูแลธุรกิจด้านโลจิสติกส์ของไทยหน่วยงานที่กำกับดูแลธุรกิจด้านโลจิสติกส์ของไทย

  35. กฎระเบียบด้านโลจิสติกส์และกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยกฎระเบียบด้านโลจิสติกส์และกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย กฎระเบียบด้านโลจิสติกส์ของไทย ปัจจุบันยังไม่มีกฎหมายและกฎระเบียบที่กำกับดูแลบริการโลจิสติกส์โดยเฉพาะ แต่มีกฎหมายและกฎระเบียบของไทยหลายฉบับที่เกี่ยวกับบริการด้านโลจิสติกส์ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของหลายหน่วยงาน เช่น กรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใต้กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กระทรวงแรงงาน องค์การคลังสินค้า บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด เป็นต้น

  36. กฎระเบียบด้านโลจิสติกส์และกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยกฎระเบียบด้านโลจิสติกส์และกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย กฎระเบียบด้านโลจิสติกส์ของไทย • (1) กฎหมายทั่วไป • - พ.ร.บ. การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 (กระทรวงพาณิชย์) • - พ.ร.บ.ส่งเสริมการลงทุน (สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน) • พ.ร.บ.การทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. 2521 (กระทรวงแรงงาน) • (2) กฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวกับบริการขนส่งและโลจิสติกส์ • (2.1) การขนส่งทางน้ำ (กระทรวงคมนาคม) • (2.2) การขนส่งทางอากาศ (กระทรวงคมนาคม) • (2.3) การขนส่งทางบก (กระทรวงคมนาคม) • (2.4) พ.ร.บ.ขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 (กระทรวงคมนาคม) • (2.5) ร่างพ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจบริการโลจิสติกส์ พ.ศ. ... (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า)

  37. กฎระเบียบด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทยกฎระเบียบด้านการรับฝากเก็บสินค้าของไทย • ร่างพระราชบัญญัติคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น พ.ศ. .... มีสาระสำคัญดังนี้ • - พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป • ให้มีคณะกรรมการกำกับคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น  ประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เป็นประธานกรรมการ และอธิบดีกรมการค้าภายในเป็นกรรมการและเลขานุการ  มีอำนาจหน้าที่เสนอแนะต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตเช่าคลังสินค้า ไซโล ห้องเย็น ตลอดจนพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์และการทุเลาคำสั่ง • การประกอบกิจการคลังสินค้า กิจการไซโล หรือกิจการห้องเย็น  จะกระทำได้ต่อเมื่อได้จัดตั้งเป็นนิติบุคคลประเภทห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด สหกรณ์ หรือองค์การของรัฐบาล  และได้รับอนุญาตจากอธิบดีกรมการค้าภายใน • กำหนดให้ผู้จัดตั้งคลังสินค้า ไซโล หรือห้องเย็นที่เก็บรักษาสินค้าของตนเอง ซึ่งมีพื้นที่ ขนาด หรือความจุของคลังสินค้า  ไซโล หรือห้องเย็น ตามที่อธิบดีกำหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ  ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อนการจัดตั้ง • - กำหนดบทลงโทษผู้กระทำความผิดโดยเน้นโทษทางปกครอง

  38. จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค ของธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าของไทย ที่มา: ปรับปรุงข้อมูลจากปรับปรุงจากโครงการศึกษาประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ โลจิสติกส์ของประเทศ พ.ศ. 2550-2554 (สศช.) (พ.ศ.2555)

  39. จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค ของธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าของไทย (ต่อ) ที่มา: ปรับปรุงข้อมูลจากปรับปรุงจากโครงการศึกษาประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ โลจิสติกส์ของประเทศ พ.ศ. 2550-2554 (สศช.) (พ.ศ.2555)

  40. จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรค ของธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าของไทย (ต่อ) ที่มา: ปรับปรุงข้อมูลจากปรับปรุงจากโครงการศึกษาประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ โลจิสติกส์ของประเทศ พ.ศ. 2550-2554 (สศช.) (พ.ศ.2555)

  41. ข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทยข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย • ประเทศไทยมีจุดเชื่อมโยงระบบขนส่งสินค้าหลัก ดังนี้ • สถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal) • สถานีตรวจและบรรจุสินค้าเข้าตู้คอนเทนเนอร์เพื่อการส่งออก หรือ สตส. (Off-Dock Container Freight Station: CFS) • โรงพักสินค้าเพื่อตรวจปล่อยของขาเข้าและบรรจุของขาออกที่ขนส่งโดยระบบคอนเทนเนอร์นอกเขตทำเนียบท่าเรือ (Inland Container Depot: ICD) • ย่านกองเก็บตู้สินค้า (Container Yard: CY) • สถานที่เก็บพักสินค้า

  42. ข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทยข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย การเชื่อมโยงการขนส่งทางถนนกับประเทศเพื่อนบ้าน • ประเทศไทยได้พัฒนากรอบความร่วมมือทวิภาคกับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อสร้างเครือข่ายการขนส่งเชื่อมโยงทางบกผ่านจุดผ่านแดนของประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน • จุดผ่านแดนถาวร เป็นจุดผ่านแดนที่รัฐบาลไทยและรัฐบาลของประเทศที่มีพรมแดนติดต่อกัน ประกาศให้มีการสัญจรไป-มา ทั้งบุคคล สิ่งของ และยานพาหนะ ปัจจุบันนี้ ไทยมีจุดผ่านแดนถาวรกับประเทศเพื่อนบ้านรวม 29 จุด แบ่งเป็น • ประเทศไทย-ประเทศเมียนมาร์ มีจุดผ่านแดนถาวร 3 จุด • ประเทศไทย-ประเทศลาว มีจุดผ่านแดนถาวร 13 จุด (รวมด่านสากล 5 ด่าน) • ประเทศไทย-ประเทศกัมพูชา มีจุดผ่านแดนถาวร 6 จุด • ประเทศไทย-ประเทศมาเลเชีย มีจุดผ่านแดนถาวร 7 จุด • จุดผ่านแดนชั่วคราวและจุดผ่อนปรน เป็นจุดผ่านแดนที่เปิดเป็นการเฉพาะกิจเพื่อเหตุฉุกเฉินจําเป็นเฉพาะคราวเท่านั้น ไม่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจการค้า ปัจจุบันไทยมี 42 แห่ง โดยแยกเป็น ไทย-เมียนมาร์ 11 แห่ง ไทย-ลาว 21 แห่ง และไทย-กัมพูชา 10 แห่ง

  43. ข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทยข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย

  44. ข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทยข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย

  45. ข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทยข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย

  46. ข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทยข้อมูลด้านเส้นทางและตำแหน่งจุดรองรับและกระจายสินค้าในการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของไทย

  47. ผลกระทบ โอกาส และแนวทางการปรับตัวของธุรกิจรับฝากเก็บสินค้า • ในประเทศไทย • ผลกระทบของธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าในประเทศไทย • การแข่งขันที่เพิ่มขึ้นอาจหลีกเลี่ยงได้ยากหากมีการเปิดเสรีอาเซียน ทั้งจากผู้ประกอบการรายใหญ่ในประเทศอาเซียนและประเทศนอกอาเซียนที่อาจเข้ามา • ธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าในประเทศไทย ยังขาดทั้งเงินทุนและความเชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ระบบการพัฒนาบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญและมาตรฐาน รวมทั้งขาดจุดเด่นเฉพาะตัว • ด้านกฎระเบียบ ขั้นตอน และธรรมเนียมปฏิบัติต่างๆ ของแต่ละประเทศ ซึ่งจะเป็นกำแพงสำคัญที่ปิดกั้นการเข้าถึงตลาดของผู้ประกอบการธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าของไทยในการเข้าไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน • การส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศของภาครัฐที่ผ่านมามีการถ่ายโอนเทคโนโลยีค่อนข้างน้อย เป็นการลงทุนที่ใช้ทรัพยากรในประเทศเพื่อสร้างกำไรและส่งคืนกลับไปยังประเทศที่เป็นเจ้าของทุนในขณะที่ขาดการส่งเสริมการลงทุนในต่างประเทศ เช่น การเรียกเก็บภาษีซ้ำซ้อน

  48. ผลกระทบ โอกาส และแนวทางการปรับตัวของธุรกิจรับฝากเก็บสินค้า • ในประเทศไทย • โอกาสของธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าในประเทศไทย • การเปิดเสรีและการรวมกลุ่มไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะช่วยดึงดูด การลงทุนจากต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในภูมิภาคมากขึ้น • การเปิดเสรีโลจิสติกส์ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนจะเป็นโอกาสสำหรับธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าของไทยเข้าไปทำธุรกิจในประเทศเพื่อนบ้านอาเซียนได้ง่ายขึ้น • โอกาสขยายตลาดธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าของไทยในประเทศเพื่อนบ้าน ผู้ให้บริการไทยมีโอกาสพัฒนาช่องทางตลาดผ่านการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดน โดยเฉพาะภายในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) • การเปิดเสรีอาเซียนอาจเป็นโอกาสหนึ่งของผู้ประกอบการธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าของไทยที่จะเข้าถึงตลาดการให้บริการที่มีขนาดใหญ่ขึ้น ทั้งในอาเซียนและประเทศเพื่อนบ้านของอาเซียนที่มีพรมแดนติดกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งจีน

  49. ผลกระทบ โอกาส และแนวทางการปรับตัวของธุรกิจรับฝากเก็บสินค้า • ในประเทศไทย • แนวทางการปรับตัวของธุรกิจรับฝากเก็บสินค้าในประเทศไทย • เผยแพร่องค์ความรู้พื้นฐานด้านโลจิสติกส์ และการคลังสินค้าสำหรับสินค้าเกษตรให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย • จัดตั้งมาตรฐานการคลังสินค้าแห่งชาติ โดยการออกระเบียบ ข้อกำหนดต่างๆ เพื่อเป็นหลักปฏิบัติของคลังสินค้าและไซโล ให้เหมาะสมกับประเภทของผลผลิต รวมทั้งมีการฝึกอบรมความรู้ด้านมาตรฐานและการตรวจสอบอย่างต่อเนื่องโดยองค์กรอิสระ • สร้างความเชื่อมั่นในระบบการคลังสินค้าของไทยแก่ผู้เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันการเงิน เกษตรกร ผู้ส่งออก เป็นต้น • ส่งเสริมนโยบายในการพัฒนาระบบการคลังสินค้า การขนส่ง และการกระจายสินค้าแบบบูรณาการในด้านต่างๆ เช่น ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านกลยุทธ์การจัดการ ด้านมาตรฐาน ด้านเทคโนโลยี ด้านบุคลากร เป็นต้น

  50. บริการด้านโลจิสติกส์ และกิจการด้านการรับฝากเก็บสินค้า ของมาเลเซีย

More Related