1 / 25

กรณีชราภาพ

1. กรณีชราภาพ. 2. กรณีชราภาพ. อายุครบ 55 ปี. สิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน. เงื่อนไขการเกิดสิทธิ. กรณีชราภาพ. บำเหน็จ ชราภาพ. บำนาญ ชราภาพ. เงินสมทบไม่ถึง 180 งวด. เงินสมทบตั้งแต่ 180 งวด. เงินสมทบกรณีชราภาพ เริ่มเก็บครั้งแรกเมื่อ 31 ธันวาคม 2541. บำเหน็จชราภาพ.

Download Presentation

กรณีชราภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 กรณีชราภาพ

  2. 2 กรณีชราภาพ อายุครบ 55 ปี สิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน

  3. เงื่อนไขการเกิดสิทธิ กรณีชราภาพ บำเหน็จชราภาพ บำนาญชราภาพ เงินสมทบไม่ถึง 180 งวด เงินสมทบตั้งแต่ 180 งวด เงินสมทบกรณีชราภาพ เริ่มเก็บครั้งแรกเมื่อ 31 ธันวาคม 2541

  4. บำเหน็จชราภาพ จำนวนเงินสมทบ 1 – 11 งวด จำนวนเงินสมทบ 12 – 179 งวด รับส่วนของผู้ประกันตน + นายจ้าง + ผลประโยชน์ตอบแทน ( 3 % + 3 % + ผลประโยชน์ตอบแทน) รับเฉพาะส่วนของผู้ประกันตน (3%)

  5. สามี/ภรรยา บิดา มารดา 9 กรณีผู้ประกันตนเสียชีวิต หรือผู้รับบำนาญชราภาพเสียชีวิต ภายใน 60 เดือนนับแต่เดือนที่มีสิทธิ ทายาทผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จฯ ดังนี้ 1. 2. บิดา มารดา สามี/ภรรยา บุตร 1-2 คน บุตร บุตร บุตร หมายเหตุ บุตร 1-2 คนได้รับ 2 ส่วน บุตรตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปได้รับ 3 ส่วน 1. 2.

  6. 10 การจ่ายเงินบำนาญ เป็นรายเดือนตลอดชีวิต ต้องมาแสดงตนตามระยะเวลาที่กำหนด หากไม่มาแสดงตนจะงดจ่ายเงินบำนาญในงวดถัดไป

  7. 11 ผู้รับบำนาญตาย ระงับการจ่ายเงินบำนาญในเดือนถัดไป ตายภายใน 60 เดือน ทายาทจะได้รับบำนาญตกทอด 10 เดือน ของบำนาญรายเดือนที่ได้รับครั้งสุดท้าย

  8. 12 ประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ (1) กรณีจ่ายเงินสมทบ 180 เดือน จะมีสิทธิได้รับเงินบำนาญ ชราภาพเป็นรายเดือน ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบก่อน ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง (2) กรณีจ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือน ให้ปรับเพิ่มอัตราเงิน บำนาญชราภาพตาม (1) ขึ้นอีกในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อ ระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือน สำหรับ ระยะเวลาที่จ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือน เงินบำนาญชราภาพ

  9. 13 การคำนวณการจ่ายบำนาญชราภาพ ใช้ค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือน สุดท้ายก่อนสิ้นสุด ความเป็นผู้ประกันตน ค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x (20%+1.5% ตามจำนวนปีที่จ่ายเงินสมทบเกินกว่า 180 เดือน)

  10. กรณีส่งเงินสมทบชราภาพ 15 ปี (180 เดือน) 14 บำนาญ = ค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x 20% = 15,000+……+14,000……+10,000 x 20% เดือนที่ 60 เดือนที่ 50 เดือนที่ 1 60 = 12,000 x 20% = 2,400 บาท / เดือน

  11. ตัวอย่างที่ 1 ผู้ประกันตนเข้าทำงานที่บริษัท กขค. จำกัด ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2540 ในตำแหน่งพนักงานการตลาด ได้รับค่าจ้างตามช่วงเวลาดังต่อไปนี้ 1. มีนาคม 2540 – ธันวาคม 2550 = 10,000 บาท 2. มกราคม 2551 - ธันวาคม 2554 = 12,000 บาท 3. มกราคม 2555 – ธันวาคม 2556 = 16,000 บาท และลาออกเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2557 ขณะมีอายุครบ 55 ปี รวมเงินทั้งหมด 181 เดือน (ธันวาคม 2541-ธันวาคม 2556) ผู้ประกันตนรายนี้จะได้รับเงินบำนาญชราภาพเป็นจำนวนเดือนละเท่าไร วิธีคำนวณ คำนวณจากค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x 20% = ค่าจ้างปี 2556, 2555 จำนวน 24 เดือน ๆ ละ = 15,000 บาท = ค่าจ้างปี 2554, 2553, 2552 จำนวน 36 เดือนๆ ละ = 12,000 บาท สรุปค่าจ้าง 15,000 x 24 = 360,000 บาท ค่าจ้าง 12,000 x 36 = 432,000บาท รวม 60 เดือน = 792,000 บาท ค่าจ้างเฉลี่ย 1 เดือน 792,000 / 60 = 13,200 บาท ดังนั้นผู้ประกันตนรายนี้จะได้รับบำนาญชราภาพเดือนละ 13,200 x 20 % = 2,640 บาท 15

  12. 16 ตัวอย่างที่ 2 ผู้ประกันตนเข้าทำงานที่บริษัท ABC จำกัด ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2541 ในตำแหน่งพนักงานบัญชี ได้รับค่าจ้างตามช่วงเวลาดังต่อไปนี้ 1. ตุลาคม 2541 - ธันวาคม 2545 = 14,000 บาท 2. มกราคม 2546 – ธันวาคม 2550 = 17,000 บาท 3. มกราคม 2551 - ธันวาคม 2554 = 20,000 บาท โดยได้ลาออกเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2555 ขณะมีอายุ 53 ปี เกิด 10 ธันวาคม 2501 รวมเงินสมทบ 157 เดือน (ตั้งแต่ ธันวาคม 2541 ถึง ธันวาคม 2554) ได้สมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ตั้งแต่ 1 เมษายน 2555 และลาออกเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2557 (อายุ 55 ปี 6 เดือน) มีการนำส่งเงินสมทบเมษายน 2555 ถึงพฤษภาคม 2557 รวม 26 เดือน รวมเงินสมทบทั้ง 2 ช่วง มาตรา 33 157 เดือน มาตรา 39 26 เดือน รวม 183 เดือน ผู้ประกันตนรายนี้จะได้รับเงินบำนาญชราภาพเดือนละเท่าไร

  13. 17 วิธีคำนวณ จะคำนวณจากค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x 20% ค่าจ้างของมาตรา 39 รวมทั้งหมด จำนวน 26 เดือน ๆ ละ = 4,800 บาท ปี 2557(5เดือน), 2556(12เดือน), 2555(9เดือน) ค่าจ้างของมาตรา 33 รวมทั้งหมด จำนวน 34 เดือนๆ ละ = 15,000 บาท ปี 2554(12เดือน) , 2553(12เดือน), 2552(10เดือน) สรุปค่าจ้าง 4,800 x 26 = 124,800 บาท ค่าจ้าง 15,000 x 34 = 510,000บาท รวม 60 เดือน = 634,800 บาท ค่าจ้างเฉลี่ย 1 เดือน 634,800 / 60 = 10,580 บาท ดังนั้นผู้ประกันตนรายนี้จะได้รับบำนาญชราภาพเดือนละ 10,580 x 20 % = 2,116 บาท

  14. 18 ตัวอย่างที่ 3 ผู้ประกันตนเข้าทำงานที่บริษัท สายล่อฟ้า จำกัด ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2545 ในตำแหน่ง พนักงานธุรการ ได้รับค่าจ้างตามช่วงเวลาดังต่อไปนี้ 1. กรกฎาคม 2545 - ธันวาคม 2549 = 9,000 บาท 2. มกราคม 2550 – ธันวาคม 2554 = 12,000 บาท 3. มกราคม 2555 - มิถุนายน 2555 = 15,000 บาท โดยได้ลาออกเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2555 ขณะมีอายุ 50 ปี เกิด 30 กรกฎาคม 2505 รวมเงินสมทบ 120 เดือน (ตั้งแต่ กรกฎาคม 2545 ถึง มิถุนายน 2555) ได้สมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ตั้งแต่ 1 มกราคม 2556 และได้ลาออกเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2561 มีการนำส่งเงินสมทบ มกราคม 2556 – ธันวาคม 2560 รวม 60 งวด รวมเงินสมทบทั้งสิ้น มาตรา 33 120 เดือน * มาตรา 39 60 เดือน * รวม 180 เดือน ผู้ประกันตนรายนี้จะได้รับเงินบำนาญชราภาพเดือนละเท่าไร

  15. 19 วิธีคำนวณ จะคำนวณจากค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x 20% ค่าจ้างของมาตรา 39 รวมทั้งหมด จำนวน 60 เดือน ๆ 4,800 บาท สรุปค่าจ้าง 4,800 x 60 = 288,000 บาท ค่าจ้างเฉลี่ย 1 เดือน 288,000 / 60 = 4,800 บาท ดังนั้นผู้ประกันตนรายนี้จะได้รับบำนาญชราภาพเดือนละ 4,800 x 20 % = 960 บาท

  16. 20 ตัวอย่างที่ 4 ผู้ประกันตนเข้าทำงานที่บริษัท xyz จำกัด ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2541 ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดซื้อ ได้รับค่าจ้างตามช่วงเวลาดังต่อไปนี้ 1. ธันวาคม 2541 - ธันวาคม 2545 = 13,000 บาท 2. มกราคม 2546 – ธันวาคม 2553 = 15,000 บาท 3. มกราคม 2554 - พฤษภาคม 2557 = 18,000 บาท ลาออกวันที่ 1 มิถุนายน 2557 ขณะมีอายุ 58 ปี เกิด 15 กันยายน 2499 รวมเงินสมทบ 186 เดือน (ตั้งแต่ ธันวาคม 2541 – พฤษภาคม 2557) และยื่นเรืองขอรับบำนาญชราภาพ ต่อมาต้องการใช้สิทธิประกันสังคมต่อโดยสมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2557 และได้ลาออกเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2560 รวมเงินสมทบ 35 เดือน (ตั้งแต่ตุลาคม 2557 ถึง สิงหาคม 2560) ผู้ประกันตนจะได้รับบำนาญเดือนละเท่าไร วิธีคำนวณ บำนาญช่วงที่ 1 ลาออกครั้งแรก ค่าจ้างปี 2557(5 เดือน), 2556(12เดือน), 2555(12เดือน), 2554(12เดือน) 2553(12เดือน), 2552(7เดือน) เดือนละ = 15,000 บาท สรุป ค่าจ้าง 15,000 บาท x 60 = 900,000 บาท ค่าจ้างเฉลี่ย 1 เดือน จะได้ 900,000 / 60 จะได้ = 15,000 บาท ดังนั้นผู้ประกันตนได้รับบำนาญชราภาพช่วงแรกเดือนละ 15,000 x 20 % = 3,000 บาท

  17. ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญชราภาพเดือนละ 3,000 บาท เป็นจำนวน 4 เดือน ตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2557 – กันยายน 2557 และจะทำการหยุดจ่ายบำนาญตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 เป็นต้นไป เนื่องจากกลับเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 และจะกลับมาจ่ายบำนาญอีกครั้งในเดือนกันยายน 2560 หลังจากผู้ประกันตนได้สิ้นสภาพการเป็นมาตรา 39 และจะคำนวณบำนาญใหม่อีกครั้งดังนี้ ช่วงที่ 2 ลาออกจากมาตรา 39 มีการนำส่งเงินสมทบอีก 35 เดือน ส่วนที่เกิน 180 เดือน ในอัตรา + 1.5% ดังนั้นจำนวนที่เพิ่มได้คือ 3% (24 เดือนเหลือเศษ 11) ผู้ประกันตนรายนี้จะได้รับบำนาญชราภาพดังนี้ วิธีคำนวณ คำนวณจากค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือน สุดท้าย x (3%) เงินสมทบในช่วงที่ 2 จะมีทั้งหมด 35 เดือน จ่ายเพิ่มอีกร้อยละ 3 ของค่าจ้างที่ใช้ในการคำนวณเงินบำนาญชราภาพเดิมก่อนกลับเข้าเป็นผู้ประกันตน = 15,000 x 3% = 450 บาท ผู้ประกันตนจะได้รับบำนาญช่วงที่ 2 เดือนละ 450 บาท ดังนั้นผู้ประกันตนรายนี้จะได้รับชราภาพทั้งหมด ช่วงแรก 3,000 บาท ช่วงที่ 2 450 บาท รวมทั้งหมด 3,450 บาท 21

  18. 22 ตัวอย่างที่ 5 ผู้ประกันตนเข้าทำงานที่บริษัท xyz จำกัด ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2541 ในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดซื้อ ได้รับค่าจ้างตามช่วงเวลาดังต่อไปนี้ 1. ธันวาคม 2541 - ธันวาคม 2545 = 13,000 บาท 2. มกราคม 2546 – ธันวาคม 2553 = 15,000 บาท 3. มกราคม 2554 - พฤษภาคม 2557 = 18,000 บาท โดยได้ลาออกวันที่ 1 มิถุนายน 2557 ขณะมีอายุ 58 ปี เกิด 15 กันยายน 2499 รวมเงินสมทบ 186 เดือน (ตั้งแต่ ธันวาคม 2541 – พฤษภาคม 2557) โดยไม่ได้ยื่นขอรับเงินบำนาญชราภาพ ต่อมาต้องการใช้สิทธิประกันสังคมต่อโดยสมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา 39 ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2557 และได้ลาออกเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2560 รวมเงินสมทบ 35 เดือน (ตั้งแต่ตุลาคม 2557 ถึง สิงหาคม 2560) ผู้ประกันตนจะได้รับบำนาญเดือนละเท่าไร วิธีคิด 1. ช่วงแรกจากบริษัท มีการนำส่งเงินสมทบมาแล้ว 186 เดือน 2 ช่วงที่ 2 มาตรา 39 มีการนำส่งเงินสมทบอีก 35 เดือน รวมเงินสมทบทั้งหมด 221 เดือน ส่วนที่เกิน 180 เดือนมา 41 เดือนสามารถคำนวณอัตรา+ 1.50% ในส่วนเกิน 180 เดือนทุก ๆ 12 เดือนได้ 3 ครั้ง เพิ่มได้ 4.5% (36 เดือน เหลือเศษ 5 เดือนเพิ่มไม่ได้)

  19. 23 ผู้ประกันตนรายนี้จะได้รับบำนาญชราภาพดังนี้ วิธีคำนวณ คำนวณจากค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือน สุดท้าย x (20% + 4.5%) ค่าจ้างมาตรา 39 รวมทั้งหมด 35 เดือน ๆ ละ = 4,800 บาท ค่าจ้างมาตรา 33 ปี 2557 (5เดือน) , 2556(12เดือน), 2555(8เดือน) รวมทั้งหมด 25 เดือน ๆ ละ 15,000 บาท สรุป ค่าจ้างมาตรา 39 = 4,800 x 35 = 168,000 บาท ค่าจ้างมาตรา 33 = 15,000 x 25 = 375,000 บาท รวมทั้งสิ้น 543,000 บาท ค่าจ้างเฉลี่ย 1 เดือน = 543,000 / 60 = 9,050 บาท ดังนั้นผู้ประกันตนจะได้รับบำนาญ 24.5% เป็นเงินเดือนละ (20% + 4.5 %)= 2,217.25 บาท

  20. 24 ตัวอย่างที่ 6 ผู้ประกันตนเข้าทำงานที่บริษัท xyz จำกัด ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2541 ทำงานในตำแหน่ง เจ้าหน้าที่จัดซื้อ ได้รับค่าจ้างตามช่วงเวลาดังต่อไปนี้ 1. ธันวาคม 2541 - ธันวาคม 2545 = 13,000 บาท 2. มกราคม 2546 – ธันวาคม 2553 = 15,000 บาท 3. มกราคม 2554 - พฤษภาคม 2557 = 18,000 บาท โดยได้ลาออกวันที่ 1 มิถุนายน 2557 ขณะมีอายุ 58 ปี เกิด 15 กันยายน 2499 รวมเงินสมทบ 186 เดือน (ตั้งแต่ ธันวาคม 2541 – พฤษภาคม 2557) ติดต่อขอรับเงินบำนาญชราภาพแล้ว ต่อมาได้กลับเข้าทำงานที่ บริษัท กขค. จำกัด ในวันที่1 ตุลาคม 2557 และได้เสียชีวิตในวันที่ 1 มีนาคม 2559 ได้รับค่าจ้างเดือนละ 10,000 บาท มีการส่งเงินสมทบ 17 เดือน(ตั้งแต่ตุลาคม 2557 ถึง กุมภาพันธ์ 2559) ผู้ประกันตนจะได้รับสิทธิประโยชน์กรณีชราภาพอย่างไรบ้าง (ประสงค์จะรับเงินบำนาญตั้งแต่ตอนออกจากบริษัท xyz จำกัด) วิธีคำนวณ ช่วงแรก จะคำนวณค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x 20% ค่าจ้างปี 2557(5 เดือน), 2556(12เดือน), 2555(12เดือน), 2554(12เดือน) 2553(12เดือน), 2552(7เดือน) ยอดเงิน = 15,000 บาท สรุป ค่าจ้าง 15,000 บาท x 60 = 900,000 บาท ค่าจ้างเฉลี่ย 1 เดือน = 900,000 / 60 จะได้ = 15,000 บาท ดังนั้นผู้ประกันตนได้รับบำนาญเดือนละ 15,000 x 20 % = 3,000 บาท

  21. ช่วงที่ 2 ผู้ประกันตนกลับเข้าทำงานที่บริษัท กขค. จำกัด ทำงานและนำส่งเงินสมทบอีก 17 เดือน แล้วเสียชีวิต (ส่งเงินสมทบตั้งแต่ตุลาคม 2557 ถึง กุมภาพันธ์ 2559 ) โดยเสียชีวิตวันที่ 1 มีนาคม 2559 วิธีคิด ผู้ประกันตนรายนี้เคยได้รับบำนาญชราภาพมาแล้ว 4 เดือนในช่วงที่ออกจากบริษัท xyz จำกัด ซึ่งยังรับไม่ครบ 60 เดือนตามเงื่อนไขกรณีรับบำนาญชราภาพแล้วเสียชีวิต ดังนั้น จะทำการแยกจ่ายประโยชน์ทดแทนเป็น 2 ประเด็น กรณีที่ 1 จ่ายให้กับทายาทตามกฎหมายของผู้ประกันตนอีก 10 เท่า ของอัตราบำนาญที่เคยได้รับ 3,000 x 10 = 30,000 บาท กรณีที่ 2 จ่ายบำเหน็จชราภาพให้กับทายาทตามกฎหมายตามเงื่อนไขของการจ่ายบำเหน็จชราภาพ จากการทำงานช่วงที่ 2 ผู้ประกันส่งเงินสมทบมา 17 เดือน โดยรับค่าจ้างเดือนละ 10,000 บาท จะได้รับบำเหน็จชราภาพส่วนของตนเอง + ส่วนของนายจ้าง + ผลตอบแทนที่ประกันสังคมกำหนด สรุป จะได้ในประเด็นแรก 30,000 บาท = (300 x 17) + (300 x 17) + ผลตอบแทนที่ประกันสังคมกำหนด = 5,100 + 5,100 + ผลตอบแทนที่ประกันสังคมกำหนด = 10,200 + ผลตอบแทนที่ประกันสังคมกำหนด 25

More Related