1 / 12

งบประมาณคนธรรมดา (ที่ไม่ธรรมดา)

งบประมาณคนธรรมดา (ที่ไม่ธรรมดา).

teenie
Download Presentation

งบประมาณคนธรรมดา (ที่ไม่ธรรมดา)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. งบประมาณคนธรรมดา (ที่ไม่ธรรมดา)

  2. หลายคนอาจจะเจอกับปัญหามากมายในการที่จะทำให้รายได้กับรายจ่ายพอดีกัน คนส่วนใหญ่มีรายได้จำกัดและมีเงินไม่มากพอที่จะสามารถซื้อสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของตนเองได้ ดังนั้นจึงควรมีการจำทำ “งบประมาณ” เพื่อวางแผนการใช้จ่ายเงินอย่างรอบคอบ และให้การใช้จ่ายเป็นไปอย่างเหมาะสมตามลำดับความจำเป็นก่อนหลัง

  3. แนวทางในการจัดทํางบประมาณแนวทางในการจัดทํางบประมาณ 1. การจัดทํางบประมาณไมจําเปนตองคิดอยางละเอียด ทุกบาททุกสตางคใหประมาณการตัวเลขอยางสมเหตุสมผลเทานั้น 2. การจัดทํางบประมาณสามารถยืดหยุนไดถามีเหตุผลเพียงพอผู้บริโภคอาจเปลี่ยนแปลงหรือปฏิบัตินอกเหนือจากงบประมาณที่จัดทําไวไดหากมีรายจายจรเกิดขึ้น 3. แผนการใชจายเงินไมวาจะมากหรือนอยก็ตามควรจัดทําในรูปแบบของงบประมาณเพราะความสําคัญของการใชจายเงินอยูตรงที่วาจะใชจายเงินอยางไรจากวงเงินที่มีอยู

  4. 4. การกําหนดแผนการใชจายเงินจะตองคํานวณตัวเลขรายการที่จําเปนและสําคัญ ๆ เชนรายการอาหาร ควรใหพอเพียงจริง ๆ ไมใชมุงแตประหยัดอยางเดียวจนขาดสิ่งที่จําเปนไป เปนตน 5. ใหสมาชิกทุกคนในครอบครัวมีสวนรวมในการจัดทําดวยโดยแตละคนจัดทํางบประมาณของตนเอง แลวนํามารวมเปนของทั้งครอบครัว 6. ถาระดับราคาสินคาเปลี่ยนแปลงสูงขึ้นแตรายไดมีจํากัด ผูบริโภคไมอาจซื้อสินคาหรือสิ่งของตาง ๆ ไดในปริมาณที่วางแผนไวว่าจะซื้อตามงบประมาณ ต้องลดปริมาณหรือตัดรายการที่ไม จำเปนในชีวิตประจำวันหรือจําเปนนอยออกไป และจะตองมีการปรับปรุงรายการคาใชจายตาง ๆ ของงบประมาณใหม

  5. 7. เมื่อรายไดของครอบครัวลดลงหรือเพิ่มขึ้น งบประมาณของผูบริโภคที่จัดทําไวตองปรับใหมใหสอดคลองกัน 8. ถาจํานวนสมาชิกในครอบครัวลดลงหรือเพิ่มขึ้นงบประ มาณที่จัดทําไวตองเปลี่ยนแปลงใหเหมาะสมกับความเปนจริง

  6. วิธีปฏิบัติในการจัดทํางบประมาณวิธีปฏิบัติในการจัดทํางบประมาณ จะตองรูจักวิธีการจัดทํางบประมาณที่มีระบบ และปฏิบัติตามไดจึงจะทําใหการจัดทํางบประมาณของแตละคนไดผลดีและมีประสิทธิภาพ วิธีปฏิบัติในการจัดทํางบประมาณ มีขั้นตอนตอไปนี้ ขั้นที่ 1 ทําแผนใชเงินทั้งปจจุบันและอนาคต โดยปฏิบัติดังนี้ 1. กําหนดจุดมุงหมายที่แทจริงในการซื้อหรือการใชเงิน ใหแนนอน 2. ทําเปนโครงการโดยแยกรายไดและรายจายใหเปน หมวดหมู

  7. ขั้นที่ 2 ทําประมาณการรายไดโดยปฏิบัติดังนี้ 1. คํานวณรายได ปัจจุบัน และคาดคะเนรายไดที่อาจมีในอนาคต 2. รวมประมาณการรายไดทั้งหมดไวในหมวดรายได ขั้นที่ 3 ทําประมาณการคาใชจาย โดยปฏิบัติดังนี้ 1. เพื่อใหทราบยอดรายจายที่แทจริง ควรจดรายจายที่เกิดขึ้นในชวงระยะ 3 เดือน เพื่อติดตามดูวารายการและคาใช จายตาง ๆ มีอะไรบางที่เปนรายจายจําเปนและตองจายประจํา และรายจายอะไรบางที่อาจเปลี่ยนแปลงลดลงไดบาง รายการจายจะเปลี่ยนแปลงหรือคงที่ยอมขึ้นอยูกับแตละคนเปนผูกําหนดเอง

  8. 2. ทําประมาณการรายจายทั้งหมด โดยคํานวณรายจาย ตางๆ ที่เกิดขึ้นตามความเปนจริงและคาดคะเนรายจายที่อาจจะเกิดในอนาคตใหถูกตองเทาที่จะคาดการณไว้ 3. จัดเรียงประเภทค่าใช้จ่ายเข้าหมวดรายจ่าย รายการใดเป็นรายจ่ายประจำเรียงไว้ก่อนและรายจ่ายที่เปลี่ยนแปลงทั้งจำนวนเงินและระยะเวลาในการจ่ายเรียงเอาไว้หลัง ขั้นที่ 4 กำหนดเงินออมเพื่อให้ครอบครัวหรือแต่ละคนได้มีการประหยัดใช้จ่ายเงินโดยเก็บออมเงินส่วนหนึ่งไว้ ควรมีการกำหนดเงินออมของตนเองให้เหมาะสมกับรายได้การกันเงินส่วนหนึ่งไว้เป็นเงินออมนั้นเพื่อวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ

  9. 1. กันไว้เป็นเงินออมเพื่ออนาคต เป็นการเก็บออมทรัพย์เพื่อลงทุนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งสำหรับชีวิตในอนาคต 2. กันไว้เป็นกองทุนฉุกเฉินสำหรับครอบครัว เป็นการสำรองเงินสำหรับรายจ่ายที่เกิดขึ้นโดยกระทันหัน เช่น กรณีเจ็บป่วยการศึกษาของบุตรหลาน เป็นต้น

  10. ประโยชนของการจัดทํางบประมาณประโยชนของการจัดทํางบประมาณ 1. ชวยใหมีความระมัดระวังและความรอบคอบในการใชจายเงินมากขึ้น 2. ชวยใหสามารถจัดลําดับความจําเปนกอนหลังในการซื้อสินคา 3. ชวยใหมีการจัดระเบียบตัวเองและฝกนิสัยในการใชจายเงิน 4. ชวยใหตระหนักในคาของเงินมากขึ้น เพราะมีการคิดใครครวญลวงหนาเสมอวาควรใชเงินอยางไร 5. ชวยใหรูจักใชเงินอยางประหยัดและมีเหลือเก็บออมดวย 6. ชวยใหทุกคนในครอบครัวเขาใจและทราบถึงปญหาเศรษฐกิจของครอบครัวตลอดเวลา

  11. อยางไรก็ตาม การจัดทํางบประมาณนี้เปนแคเพียงวิธีการหรือเครื่องมืออยางหนึ่งที่ชวยชี้แนะใหใชจายเงินอยางฉลาดเทานั้น ไมใชกฎตายตัวที่เปลี่ยนแปลงไมได แตเราใชการทํางบประมาณเปนการชวยใหเราไดมีการคิดลวงหนาในการใชจายเงินอยางคราว ๆ โดยประมาณการเทานั้น และหวังว่างบประมาณคนธรรมดานี้ก็สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการจัดทำงบประมาณของหน่วยงานได้เป็น อย่างดีด้วย “เริ่มต้นดีๆ ที่ตัวเราเอง”

More Related