1 / 34

โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี

โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี. โดย อาจารย์สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข เชี่ยวชาญโภชนาการ โฆษกกระทรวงสาธารณสุข อุปนายกสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ผู้จัดการโครงการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อเด็กไทยโภชนาการสมวัย. โภชนาการเด็กวัยเรียน ปัญหาโภชนาการและพฤติกรรมการกิน

terri
Download Presentation

โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โภชนบัญญัติสู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดีโภชนบัญญัติสู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี โดย อาจารย์สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข เชี่ยวชาญโภชนาการ โฆษกกระทรวงสาธารณสุข อุปนายกสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ผู้จัดการโครงการพัฒนาระบบและกลไกเพื่อเด็กไทยโภชนาการสมวัย

  2. โภชนาการเด็กวัยเรียน ปัญหาโภชนาการและพฤติกรรมการกิน โภชนบัญญัติ คัมภีร์การกิน โภชนบัญญัติสู่การปฏิบัติในเด็กวัยเรียน ประเด็น

  3. เด็กไทยคือ… ต้นกล้าแห่งสังคมไทย ที่จะเติบใหญ่เป็นต้นไม้ คลุมแผ่นดินไทยให้ ร่มเย็นและผาสุก

  4. ถ้าต้นกล้างอกงามดี มีความสมบูรณ์ตามวัย จะกลายเป็น ต้นใหญ่ที่แข็งแกร่ง มีพลังแรง สร้างแผ่นดิน

  5. ความจริงของต้นกล้า เติบโตด้านร้างกาย และสมองเร็วมาก การเติบโตต้องพึ่งพาอาหาร และ โภชนาการ และการเลี้ยงดู

  6. อาหารพอเพียงพอเหมาะก่อให้อาหารพอเพียงพอเหมาะก่อให้ ต้นกล้าไทยเติบใหญ่ โภชนาการดี

  7. ปัญหาของต้นกล้า เจ็บป่วย อ่อนแอ เรียนรู้ช้า ได้รับอาหารไม่ เพียงพอ/ขาดคุณภาพ พร่องสารอาหาร ตัวเตี้ย สมองเล็ก IQ ต่ำ

  8. ปัญหาของต้นกล้า II ได้รับอาหารล้นเกิน อ้วน โรควิถีชีวิต

  9. เด็กไทยในโรงเรียน คือ ต้นกล้าที่ผู้ใหญ่ ต้องใส่ใจ รดน้ำ พรวนดิน

  10. รดน้ำ พรวนดิน คือ การดูแล เอาใจใส่ ด้านโภชนาการ และพัฒนาการ เพื่อ ให้มีศักยภาพของการเรียนรู้ สู่ความเป็นเลิศ

  11. ทุพโภชนาการในเด็กเกิดมาจากหลายปัจจัยแต่พฤติกรรมการกินที่ไม่พึงประสงค์คือปัจจัยหลักและสำคัญยิ่งทุพโภชนาการในเด็กเกิดมาจากหลายปัจจัยแต่พฤติกรรมการกินที่ไม่พึงประสงค์คือปัจจัยหลักและสำคัญยิ่ง

  12. พฤติกรรมการกินที่ไม่พึงประสงค์พฤติกรรมการกินที่ไม่พึงประสงค์ กินอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ไม่ได้สัดส่วน กินแป้งจากแหล่งอื่นที่ไม่ใช่ข้าว กินผัก ผลไม้น้อยลง กินโปรตีนจากเนื้อสัตว์มากไป ดื่มนมยังไม่เหมาะสม กินอาหารหวาน มัน เค็มมาก กินอาหารปนเปื้อน ริดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

  13. พฤติกรรมการกินไม่พึงประสงค์กำหนดเป็นโภชนบัญญัติ 9 ประการเพื่อพัฒนาพฤติกรรมการกินที่พึงประสงค์

  14. โภชนบัญญัติ 9 ประการ ข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพ ที่ดีของคนไทย….. FBDG (FOOD DIETARY GUIDELINES FOR THAI)

  15. โภชนบัญญัติเป็นคัมภีร์แห่งการกินของคนไทยยุคใหม่โภชนบัญญัติเป็นคัมภีร์แห่งการกินของคนไทยยุคใหม่

  16. สรุปจากอาหารหลัก 5 หมู่สู่โภชนบัญญัติพัฒนามาเป็นธงโภชนาการแล้วจะลงจานผ่านเข้าปากได้อย่างไร ?

  17. ความไม่รู้ความไม่ตระหนักเด็กจึงไม่รู้จักกินอาหารตามโภชนบัญญัติความไม่รู้ความไม่ตระหนักเด็กจึงไม่รู้จักกินอาหารตามโภชนบัญญัติ

  18. จะทำให้เด็กไทยได้มีความรู้ คู่ ความตระหนักเพื่อจะได้รู้จักกินอาหารตามโภชนบัญญัติได้อย่างไร ?

  19. เป็นคำถามที่ทุกท่านจะมาช่วยกันหาคำตอบถ้าได้ท่านคือ ... ผู้กำหนดนวัตกรรมทางโภชนาการให้กับประเทศไทย

  20. ชุดการเรียนการสอนโภชนบัญญัติและธงโภชนาการคือมติใหม่หรือนวัตกรรมการพัฒนาพฤติกรรมการกินของเด็กไทยชุดการเรียนการสอนโภชนบัญญัติและธงโภชนาการคือมติใหม่หรือนวัตกรรมการพัฒนาพฤติกรรมการกินของเด็กไทย

  21. แนวคิดการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้แนวคิดการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ • เรียนรู้บูรณาการในสาระการเรียนการสอน • เรียนรู้อยู่ในวิถีชีวิต • เรียนรู้คู่ความสนุกประยุกต์ได้ • เรียนรู้คู่การมีส่วนร่วม • เรียนรู้สู่การปฎิบัติ

  22. นวัตกรรมติที่ได้จะทดลองใช้และประเมินแล้วเดินหน้าต่อเมื่อมั่นใจพอ ขอขยายนำไปใช้ทั่วประเทศ

  23. ขอบคุณและสวัสดี

More Related