1 / 67

มาตรฐานระดับสมรรถภาพภาษาต่างประเทศในยุโรป และการนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ

มาตรฐานระดับสมรรถภาพภาษาต่างประเทศในยุโรป และการนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ. รศ. ดร. ยุพาพรรณ หุ่นจำลอง มหาวิทยาลัยฮาวาย 30 มกราคม 2553. yuphapha@hawaii.edu www.hawaii.edu/thai/ www.yhoonchamlong.net. แนะนำ CEFR หลักการและปรัชญาของ CEFR

thora
Download Presentation

มาตรฐานระดับสมรรถภาพภาษาต่างประเทศในยุโรป และการนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานระดับสมรรถภาพภาษาต่างประเทศในยุโรป และการนำไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ รศ. ดร. ยุพาพรรณ หุ่นจำลอง มหาวิทยาลัยฮาวาย 30 มกราคม 2553 yuphapha@hawaii.edu www.hawaii.edu/thai/ www.yhoonchamlong.net

  2. แนะนำ CEFR • หลักการและปรัชญาของ CEFR • มาตรวัดระดับสมรรถภาพภาษาของ CEFR • CEFR กับ หลักสูตร การเรียนการสอนและ การวัดผล • Dialang www.stc.chula.ac.th

  3. แนะนำ CEFR (1) • Common European Framework of Reference for Languages: Learning, Teaching, Assessment กรอบอ้างอิงเกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาและการวัดผลภาษาของสหภาพยุโรป http://www.coe.int/T/DG4/Linguistic/CADRE_EN.asp • ในปี 2001 (2544) European Union Council มีมติให้ใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิงในการรับรองระดับสมรรถภาพภาษาในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป • นับแต่ปี 2550 ภาษาที่ใช้ในประเทศกลุ่มสหภาพยุโรป มีภาษาราชการของประเทศต่างๆ 23 ภาษา โดย ฝรั่งเศสเป็นภาษากลางที่ใช้ในศูนย์กลางทางการเมือง 3 เมือง คือ Strasbourg, Brussels และ Luxemberg • สหภาพยุโรปส่งเสริมสังคมพหุภาษา (Plurilingualism)

  4. แนะนำ CEFR (2) • CEFR เป็นผลจากการพัฒนาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปีค.ศ.1957 1957: ประชุมความร่วมมือระหว่างรัฐบาลในเรื่องการสอนภาษา ครั้งที่1 1963: เริ่มโครงการวิจัยเรื่องการสอนภาษา 1975: ตีพิมพ์ข้อกำหนดคุณลักษณะสมรรถภาพภาษาระดับต่างๆ(Threshold Levels) 1994: ตั้งEuropean Centre for Modern Languages/Centre européen pour les langues vivantes (ECML/CELV) 2001: ประกาศใช้ CEFR และEuropean Language Portfolio (แฟ้มผลงานด้านภาษา)

  5. แนะนำ CEFR (3) • CEFR เป็น มาตรฐานกลางสำหรับกลุ่มประเทศยุโรปในการจัดทำหลักสูตร (curriculum) ประมวลการสอน (syllabus) รวมทั้งการวัดผล (assessment) • เนื้อหาของ CEFR • ให้รายละเอียดว่า ผู้เรียนภาษาต้องรู้และเรียนรู้อะไร ในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในบริบทต่างๆรวมทั้งบริบททางวัฒนธรรม • กำหนดมาตร (scale) สมรรถภาพภาษาเป็นระดับต่างๆ เพื่อให้เป็นเป้าหมายเป็นขั้นๆให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนและเป็นเกณฑ์ในการวัดผลสัมฤทธิ์ของตน

  6. แนะนำ CEFR (4) • ระดับผู้ใช้ภาษาขั้นต้น A • ระดับผู้ใช้ภาษาขั้นอิสระ B • ระดับผู้ใช้ภาษาระดับความสามารถขั้นสูง C

  7. ACTFL Scale

  8. ระดับประถม-มัธยมต้น

  9. หลักการและปรัชญาของ CEFR(1) • สมรรถนะของผู้เรียน

  10. หลักการและปรัชญาของ CEFR(2) Aural การฟัง • เน้นการปฏิบัติ(Action Oriented) กิจกรรมภาษา • Reception การรับ • Interactionปฏิสัมพันธ์ • Productionการผลิต • Mediationการเป็นสื่อกลางเช่น การล่าม การแปล การสรุป การนำมาเรียบเรียงใหม่ Visual การอ่าน Spoken การพูด(สนทนา) Writtenการเขียน(โต้ตอบ) Spokenการพูด(นำเสนอ) Writtenการเขียน(รายงาน)

  11. หลักการและปรัชญาของ CEFR(3) • Task(ภารกิจ): any purposeful action considered by an individual as necessary in order to achieve a given result in the context of a problem to be solved, an obligation to fulfill or an objective to be achieved. (CEFR p.10) การกระทำการที่มีเป้าหมายใดๆที่เห็นว่าจำเป็นต้องทำเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ ในการแก้ปัญหา หรือ ทำให้กิจการเสร็จลุล่วง หรือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ • Strategies กลยุทธ์ในการสื่อสาร และการเรียนภาษา

  12. หลักการและปรัชญาของCEFR(4)หลักการและปรัชญาของCEFR(4) • บริบทในการใช้ภาษา(p.63-64) • Domain (แวดวงการใช้ภาษา) • ส่วนบุคคล, สาธารณะ, อาชีพ, การศึกษา • Situation สถานการณ์ • เช่น สถานที่ เวลา ผู้เกี่ยวข้อง ฯลฯ • Conditions and constraints เงื่อนไขและข้อจำกัด • ด้านกายภาพ, ด้านสังคม, ด้านเวลา

  13. สมรรถนะต่างๆ(1) • สมรรถนะทั่วไป • ความรู้รอบตัวทั่วไป (ความเป็นไปในโลก, ความรู้ด้านสังคมและวัฒนธรรม) • ความรู้และทักษะด้านวิธีปฏิบัติตนในสังคม • สมรรถนะด้านอุปนิสัยส่วนบุคคล (ทัศนคติ ความเชื่อ ค่านิยม แรงจูงใจ ฯลฯ)

  14. สมรรถนะต่างๆ (2) • สมรรถนะด้านการสื่อสารด้วยภาษา • สมรรถนะเชิงภาษาศาสตร์ (ความรู้เรื่องลักษณะภาษาในด้านไวยากรณ์ ศัพท์ ความหมาย ระบบเสียง ระบบการเขียน) • สมรรถนะเชิงภาษาศาสตร์สังคม(ความรู้เรื่องการใช้ภาษาให้เหมาะกับความสัมพันธ์ และระดับชั้นในสังคม ทำเนียบภาษา การแสดงความสุภาพ ภาษาถิ่น และ สำเนียงต่างๆ ฯลฯ) • สมรรถนะเชิงวัจนปฏิบัติ (ความรู้เรื่อง การเรียบเรียง ลำดับความ (discourse), การใช้ภาษาในการกระทำการต่างๆ (function), ธรรมเนียมปฏิบัติในการใช้ภาษา และการใช้ภาษาในการปฏิสัมพันธ์ (interaction)

  15. มาตรวัดระดับสมรรถภาพภาษา (1) • มาตรวัดสมรรถนะโดยรวม (Global Scale) p.1 • ตารางประเมินตนเอง (Self Assessment Grid) p.2-3 ให้รายละเอียดกิจกรรมการสื่อสารที่ผู้เรียนทำได้แยกตามทักษะ และ ลักษณะการสื่อสาร • มาตรวัดคุณภาพของการใช้ภาษาพูด (Qualitative Aspects of Spoken Language Use) p. 4-6

  16. มาตรวัดระดับสมรรถภาพภาษา (2) • คำบรรยายระดับแบบขยายความ (Illustrative Descriptors)มี 3 กลุ่ม • Communicative Activities กิจกรรมการสื่อสาร ให้รายละเอียดกิจกรรมการสื่อสารที่ผู้เรียนทำได้ “Can do”แยกตามทักษะ และ ลักษณะการสื่อสาร • Communicative Competence สมรรถนะในการสื่อสาร ให้รายละเอียดเรื่องคุณภาพและความสามารถในการสื่อสาร • Communicative Strategies กลยุทธในการสื่อสาร

  17. p. 8

  18. p. 27

  19. p. 37

  20. ลำดับชั้นความสัมพันธ์ของมาตรต่างๆ (1)

  21. ลำดับชั้นความสัมพันธ์ของมาตรต่างๆ (2)

  22. คำบรรยายระดับให้ข้อมูลเกี่ยวกับคำบรรยายระดับให้ข้อมูลเกี่ยวกับ • ประเภทและลักษณะของ text (Text type) เรื่อง (topic/theme) • ผู้เรียนจะต้องทำอะไร อย่างไรจึงจะเกิดผลตามวัตถุประสงค์ของ task

  23. ตัวอย่าง การฟังระดับ A1 I can recognise familiar words and very basic phrasesconcerning myself, my family and immediate concrete surroundings when people speak slowly and clearly. Text type & topic: คำ และ วลี ที่พูด ช้าๆ และชัดๆ เรื่องผู้พูด ครอบครัว หรือ สถานการณ์แวดล้อมใกล้ตัวที่เป็นรูปธรรม Performance required: ฟัง คำที่คุ้นเคย และวลีพื้นฐานที่ใช้บ่อยๆรู้เรื่อง

  24. ตัวอย่าง การพูดระดับ A1 I can use simple phrases and sentences to describe where I live and people I know. Text type & topic: การบอกเล่า เรื่องที่อยู่อาศัย และคนที่รู้จัก Performance required: ใช้วลี หรือประโยคความเดียว

  25. แบบฝึกหัด • ภารกิจ แต่ละข้อ จัดเป็นกิจกรรมภาษาระดับใดตาม ตารางวัดผลตนเองของ CEFR

  26. European Language Portfolio -ELP (1) • ชุดเอกสารสำหรับผู้เรียนในการบันทึกและติดตามพัฒนาการภาษาและประสบการณ์วัฒนธรรมของตนเพื่อไว้ใช้เป็นเอกสารประกอบการวัดระดับสมรรถภาพภาษาของตน • http://www.coe.int/t/dg4/portfolio/default.asp?l=e&m=/main_pages/welcome.html • พัฒนาขึ้นโดย แผนกนโยบายภาษา ของมนตรีแห่งยุโรป ปี 1998-2000 ประกาศใช้พร้อมกับ CEFR ในปี 2001

  27. ELP (2) เอกสาร 3 ประเภท • Language Passport • ให้ภาพรวมสมรรถภาพภาษาต่างประเทศ ณ ขณะนั้น • อ้างถึงและแจงรายละเอียดสมรรถภาพในทักษะภาษาต่างๆ ตามกรอบ CEFR สำหรับวัดผลด้วยตนเอง(self-assessment) วัดผลโดยครู หรือ โดยสถาบันการศึกษาหรือการทดสอบต่างๆ (p. 2-3) P 45-56

  28. ELP (3) 2. Language Biography ประวัติการศึกษาภาษา 3.Dossier ตัวอย่างผลงานภาษา เป็นหลักฐานประกอบ1 และ2

  29. CEFR: สำหรับ ผู้เกี่ยวข้องกับนโยบายการสอนภาษาและการจัดการการเรียนการสอน • เป็นแนวทางวางหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอน • ELP: สำหรับผู้เรียน • เป้าหมายในการเรียน (อ้างอิงจาก CEFR) เรียนอะไร เรียนทำไม เรียนอย่างไร ประสบความสำเร็จตามเป้าหมายมากน้อยเพียงใด จะทำอะไรต่อไป

  30. CEFR กับหลักสูตรภาษาและประมวลการสอน Lower secondary Upper secondary

  31. Syllabus 1 Global Scale A1: สามารถเข้าใจและใช้รูปภาษาทั่วๆไปที่คุ้นเคย และประโยคพื้นฐานที่ใช้เพื่อสนองความจำเป็นที่เป็นรูปธรรม สามารถแนะนำตัว และแนะนำผู้อื่นได้และสามารถถามและตอบ คำถามเกี่ยวกับรายละเอียดในเรื่องส่วนบุคคล เช่น อยู่ที่ไหน ผู้คนที่รู้จัก และ สิ่งของที่มีอยู่สามารถโต้ตอบแบบธรรมดาได้ ถ้าคู่ปฏิสัมพันธ์พูดช้าๆและชัดๆและพร้อมจะช่วย Self Assessment Grid (Spoken Interaction) A1:สามารถพูดคุยด้วยภาษาง่ายๆ ในเรื่องที่ไม่ซับซ้อน ถ้าคู่สนทนายินดีที่จะพูดซ้ำหรือใช้คำพูดอีกแบบหนึ่ง โดยพูดช้าๆ และช่วยแต่งเติมเสริมต่อให้สามารถโต้ตอบกับคู่สนทนาได้ สามารถถามและตอบคำถามในเรื่องจำเป็น และคุ้นเคยได้โดยใช้ ภาษาง่ายๆ

  32. Syllabus 2 A1 Speaking to someone (spoken interaction) – I can say who I am, where I was born, where I live and request the same typeof information from someone. – I can say what I am doing, how I am and ask someone how he or she is. – I can introduce someone, greet him/her and take my leave. – I can talk in a simple way of people I know and put questions to someone. – I can reply to simple personal questions and put similar questions. – I can count, state quantities and tell the time. – I can propose or offer something to someone. – I can talk about a date or appointment using, for example, “next week”, “lastFriday”, “in November”, “at three o’clock”.

  33. Syllabus 3a A1 Speaking to someone • I can say who I am, where I was born, where I live and request the same type of information from someone. I can say my name. I can spell my name. I can ask someone his/her name. • I can say what I do, how I am and ask someone about himself/herself. I can say how I am and ask someone how he/she is. • I can introduce someone, greet them and take my leave. I can introduce someone, saying his/her first name. I can introduce someone, stating his/her connection with me (relation, friend) I can ask someone else’s name. • I can use simple familiar everyday expressions. I can express my thanks. I can wish a friend a happy birthday.

  34. Syllabus 3b • I can talk simply of people I know and put questions to someone. I can indicate a quality or characteristic of someone. I can describe someone. I can state the color of something. • I can answer simple personal questions and put similar questions. I can say if something is true or false. I can describe the weather. I can say what I am able to do. I can say what I like doing and not doing. I can ask someone what he/she likes doing. • I can count, indicate quantities and tell the time. I can count up to 12. I can add, subtract and do simple division. I can give a telephone number

  35. Spoken Interaction

  36. CEFR (+ ELP) กับการวัดผล คำบรรยายระดับ กิจกรรมการสื่อสาร • กำหนดเนื้อหา (วัดผลอะไร) • ระบุเกณฑ์การตีความผลการปฏิบัติ (รู้ได้อย่างไรว่าบรรลุเป้าหมายแล้ว) • เป็นมาตรฐานร่วมในการระบุระดับสมรรถภาพจากการวัดผล เพื่อให้นำมาเทียบกันได้ คำบรรยายระดับ กิจกรรมการสื่อสาร และ คำบรรยายระดับสมรรถนะในการสื่อสาร

  37. คำบรรยายระดับ กิจกรรมการสื่อสาร • ลักษณะภารกิจ(Task) ที่จะใช้ในการวัดผล • การรายงานผล • ประเมินตนเอง การวัดผลโดยครู • คำบรรยายระดับ สมรรถนะภาษา • ประเมินตนเอง การวัดผลโดยครู • การวัดผลการปฏิบัติ

  38. ตัวอย่างจาก ตำราภาษาอินโดนีเซีย

  39. เลือกใช้มาตรวัดต่างๆได้ตามความต้องการเลือกใช้มาตรวัดต่างๆได้ตามความต้องการ

  40. ตัวอย่างการนำมาตรวัดไปใช้ให้คะแนนผลการปฏิบัติตัวอย่างการนำมาตรวัดไปใช้ให้คะแนนผลการปฏิบัติ • เป้าหมายของทักษะในการพูดโต้ตอบในวิชานี้คือ B1 • กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนดังนี้ ผู้เรียนผู้นี้ ได้คะแนน 15 จาก คะแนนเต็ม 20

  41. CEFR ในฐานะมาตรฐานกลางเพื่อการเทียบการวัดผลในระบบหรือสถาบันต่างๆ • ตัวอย่าง 1 เทียบกับACTFL (เอกสารหน้า 7)

More Related