1 / 32

โดย ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข

โดย ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายสาธารณสุข ในเชิงปฏิบัติการ. องค์ประกอบของการดำรงชีวิตที่ดี. ที่/ทางสาธารณะ. อยู่ใน อาคาร. เอื้อต่อ สุขภาพ. ถูกสุขลักษณะ. ถ่าย สิ่งปฏิกูล. สะอาด / ปลอดภัย. ชุมชน. มนุษย์. กินอาหาร. สิ่งเป็นพิษ. ทำงานใน สถาน ที่. ทิ้ง มูลฝอย.

tivona
Download Presentation

โดย ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โดยศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุขโดยศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายสาธารณสุข ในเชิงปฏิบัติการ

  2. องค์ประกอบของการดำรงชีวิตที่ดีองค์ประกอบของการดำรงชีวิตที่ดี ที่/ทางสาธารณะ อยู่ใน อาคาร เอื้อต่อ สุขภาพ ถูกสุขลักษณะ ถ่ายสิ่งปฏิกูล สะอาด/ ปลอดภัย ชุมชน มนุษย์ กินอาหาร สิ่งเป็นพิษ ทำงานในสถานที่ ทิ้งมูลฝอย ปลอดภัย ก่อเหตุรำคาญ สถานประกอบการ /โรงงาน

  3. 1 สุขลักษณะของตลาด

  4. สารบัญญัติ พรบ. สธ. เรื่อง “ตลาด” ตลาด สถานที่ซึ่งปกติจัดไว้ให้ผู้ค้า ใช้เป็นที่ชุมนุมเพื่อจำหน่ายสินค้าประเภท สัตว์ เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้หรืออาหารอันมีสภาพเป็น ของสด ประกอบ หรือปรุงแล้ว ของเสียง่าย ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีสินค้าประเภทอื่นด้วยหรือไม่ก็ตาม หมายรวมถึง บริเวณซึ่งจัดไว้เพื่อการดังกล่าวเป็นประจำ / ครั้งคราว / ตามวันที่กำหนด

  5. ผู้จัดตั้งลาด เอกชน กระทรวง ทบวง กรม ไม่ต้องขออนุญาต แต่ต้องปฏิบัติตาม เปลี่ยนแปลง ขยาย/ลด ขนาดตลาด ต้องขอ อนุญาต เงื่อนไขเฉพาะที่ แจ้งเป็นหนังสือ เจ้าพนักงาน ท้องถิ่น ต้องปฏิบัติตาม มีอำนาจ ออก ข้อกำหนดของท้องถิ่น

  6. เจ้าพนักงานท้องถิ่น ข้อกำหนดของท้องถิ่น • สุขลักษณะของตลาด (ม.35) • ที่ตั้ง แผนผัง สิ่งปลูกสร้าง • การจัดสถานที่ การวางสิ่งของ • การรักษาความสะอาด • การกำจัดสิ่งปฏิกูลมูลฝอย การระบายน้ำทิ้ง • การป้องกันเหตุรำคาญและการระบาดของโรค • สุขลักษณะของผู้ขายและ ผู้ช่วยขายในตลาด (ม.37)

  7. การออกกฎกระทรวงตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข กฎกระทรวง รมต.สธ. ออก 1. กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ควบคุม กำกับดูแล 2 กำหนดมาตรฐานความเป็นอยู่ ที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิต และ วิธีดำเนินการเพื่อตรวจสอบ แนะนำ กรรมการ สธ. ติดตาม / สนับสนุน ราชการส่วนท้องถิ่น/ เจ้าพนักงานท้องถิ่น เขตราชการส่วนท้องถิ่นที่กฎกระทรวงมีผลใช้บังคับ ควบคุมกำกับกิจการให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง

  8. ลักษณะตลาด 3 ประเภท กฎกระทรวงฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2542) ตลาดประเภทที่ 1 มีโครงสร้างอาคาร ดำเนินกิจการเป็นประจำ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ตลาดประเภทที่ 3 ไม่มีโครงสร้างอาคาร ดำเนินกิจการเป็นครั้งคราว ตามวันที่กำหนด ตลาดประเภทที่ 2 ไม่มีโครงสร้างอาคาร ดำเนินกิจการเป็นประจำ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง

  9. ผลของกฎกระทรวง ใช้บังคับตั้งแต่ 2 ก.พ. 42 เขต กทม. เมืองพัทยา เทศบาล ผู้ได้รับอนุญาตอยู่ก่อนที่กฎกระทรวงใช้บังคับ ต้องปรับปรุงให้ถูกต้องภายในเวลาที่กำหนด บทเฉพาะกาล - ไม่เกิน 3 ปี สำหรับตลาดประเภทที่ 1 (1 ก.พ.45) - ไม่เกิน 2 ปี สำหรับตลาดประเภทที่ 2 (1 ก.พ.44) - กรณีผู้ได้รับใบอนุญาตร้องขอและมีเหตุอันสมควร จพถ. มีอำนาจขยายเวลาได้ ครั้งหนึ่ง แต่ไม่เกิน 2 ปี

  10. แนวทางดำเนินการของราชการส่วนท้องถิ่นแนวทางดำเนินการของราชการส่วนท้องถิ่น 1. ตรวจสอบข้อกำหนดของท้องถิ่น แล้วแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้สอดคล้องกฎกระทรวง 2. สำรวจตลาดในเขตพื้นที่ ว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่ 3. ออกคำแนะนำให้ผู้ประกอบกิจการตลาดแก้ไขปรับปรุงให้ถูกต้อง ตามข้อกำหนดของท้องถิ่นหรือกฎกระทรวง

  11. 2 สถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร และ การจำหน่ายสินค้าประเภทอาหาร ในที่หรือทางสาธารณะ

  12. สถานที่จำหน่ายอาหาร อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใดๆ ที่มิใช่ที่/ทางสาธารณะ (และมิใช่เป็นการขายของในตลาด) ที่จัดไว้เพื่อประกอบ/ ปรุงอาหาร จนสำเร็จ และจำหน่ายให้ผู้ซื้อสามารถบริโภคได้ทันที ทั้งนี้ไม่ว่าจัดบริเวณไว้สำหรับการบริโภค ณ ที่นั้น หรือนำไปบริโภคที่อื่นก็ตาม สถานที่สะสมอาหาร อาคาร สถานที่ หรือบริเวณใดๆ ที่มิใช่ที่/ ทางสาธารณะ (และมิใช่เป็นการขายของในตลาด) ที่จัดไว้สำหรับเก็บอาหารอัน มีสภาพเป็นของสด หรือของแห้ง หรือ อาหารรูปลักษณะอื่นใด ที่ผู้ซื้อ ต้องนำไปทำ ประกอบ ปรุงเพื่อบริโภค ในภายหลัง

  13. ผู้จัดตั้งสถานที่จำหน่าย / สะสมอาหาร กรณีที่มีพื้นที่เกินกว่า 200 ตร.ม. และมิใช่ การขายของในตลาด กรณีที่มีพื้นที่ไม่เกิน 200 ตร.ม. และมิใช่ การขายของในตลาด ปฏิบัติตาม ขออนุญาต แจ้ง ข้อกำหนดของท้องถิ่น เจ้าพนักงานท้องถิ่น

  14. เจ้าพนักงานท้องถิ่น ข้อกำหนดของท้องถิ่น • สุขลักษณะสถานที่จำหน่าย/ สะสมอาหาร • ที่ตั้ง การใช้ การดูแลรักษาสถานที่ • อาหาร กรรมวิธีการจำหน่าย ทำ • ประกอบ ปรุง เก็บ สะสมอาหาร • สุขวิทยาส่วนบุคคล • ภาชนะ อุปกรณ์ น้ำใช้ และของใช้อื่นๆ • การป้องกันเหตุรำคาญ • และการป้องกันโรคติดต่อ

  15. การควบคุมเรื่องการจำหน่ายสินค้า ในที่หรือทางสาธารณะ ผู้จำหน่ายสินค้าในที่/ ทางสาธารณะ ขออนุญาต • ชนิด/ประเภทสินค้า • ลักษณะการจำหน่าย • สถานที่ขาย • เงื่อนไขอื่น ๆ เจ้า พนักงาน ท้องถิ่น ถ้าเปลี่ยน แปลง ต้อง ปฏิบัติ ตาม ต้องแจ้ง มีอำนาจ ประกาศเขต ข้อกำหนดของท้องถิ่น

  16. เจ้าพนักงานท้องถิ่น ร่วมกับเจ้า พนักงานจราจร ข้อกำหนดของท้องถิ่น • สุขลักษณะเกี่ยวกับ • ผู้ขาย/ผู้ช่วยขาย • กรรมวิธีการจำหน่าย ทำ • ประกอบ ปรุง เก็บ/สะสม • ความสะอาดภาชนะ น้ำใช้ ของใช้ • การจัดวาง/ การเร่ขาย • เวลาจำหน่าย • ป้องกันเหตุรำคาญ/ โรคติดต่อ ประกาศเขต • ห้ามขายหรือซื้อโดยเด็ดขาด • ห้ามขายสินค้าบางชนิด • ห้ามขายสินค้าตามกำหนด เวลา • เขตห้ามขายตามลักษณะ • กำหนดเงื่อนไขการจำหน่าย ปิดที่สำนักงานฯ และบริเวณที่กำหนดเป็นเขต และระบุวันบังคับ โดยไม่น้อยกว่า 15 วัน นับแต่วันประกาศ

  17. 3 การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ

  18. ผลการใช้บังคับ กทม. เทศบาลตำบล 6 ต.ค. 45 เมืองพัทยา อบจ. 6 ต.ค. 46 อบต. เทศบาลนคร เทศบาลเมือง อาจประกาศยกเว้น การเก็บ การขน การกำจัด สถานบริการ การสาธารณสุข ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย

  19. กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ภายใต้บังคับตามกฎกระทรวงกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ภายใต้บังคับตามกฎกระทรวง ราชการส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับมอบจากราชการส่วนท้องถิ่น สถานบริการการสาธารณสุข ประชาชน ผู้ก่อให้เกิด มูลฝอยติดเชื้อ ผู้ได้รับอนุญาต รับทำการเก็บ ขน กำจัด โดยทำเป็นธุรกิจ ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย

  20. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ผู้ได้รับมอบจากราชการส่วนท้องถิ่น สถานบริการการสาธารณสุข ราชการ ส่วนท้องถิ่น สถานพยาบาล/ สัตว์ของราชการ ห้องปฏิบัติการฯ ผู้ได้รับอนุญาต ราชการส่วนท้องถิ่นหลายแห่ง เก็บ /ขน เก็บ ขน กำจัด การกำจัด 1 คน (วท.) 2 คน (วท.+วศ.) 1 คน (วท./ วศ.) 2 คน (วท.+วศ.)

  21. ขอบเขตการควบคุม ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตราย สถานบริการ การสาธารณสุข ราชการส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับมอบ จากราชการ ส่วนท้องถิ่น ผู้ได้รับอนุญาตรับทำ การเก็บ ขน กำจัด โดยทำเป็นธุรกิจ กรณีทีมีการกำจัดเองต้องแจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณาตรวจสอบ (ภายใน 90 วัน) • ต้องปฏิบัติให้ถูกสุขลักษณะเรื่องการเก็บรวบรวม ขน กำจัดตามกฎกระทรวง • ต้องจัดให้มีบุคลากร /แต่งตั้งผู้รับผิดชอบที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาตรี • ดูแลระบบการเก็บ ขน กำจัด (ภายใน 90 วัน) • ต้องจัดให้ผู้ปฏิบัติ เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

  22. การควบคุมดูแลการเก็บ ขน และกำจัด มูลฝอยติดเชื้อของราชการส่วนท้องถิ่น จัดให้มีสถานที่ทิ้งในที่สาธารณะ และกำหนดวิธีการกำจัดในท้องถิ่น จัดให้มีผู้รับผิดชอบอย่างน้อย 1 คน (วุฒิปริญญาตรี วิทยาศาสตร์/ วิศวกรรม) ดำเนินการเก็บขนและกำจัดตามหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง ควบคุมดูแลสถานบริการการสาธารณสุข & ห้องปฏิบัติการ เชื้ออันตรายให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง ควบคุมดูแลผู้รับมอบ /ผู้ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติตามกฎกระทรวง อาจร่วมกันหลายท้องถิ่นในการดำเนินการร่วมกันได้

  23. 4 กิจการสูบสิ่งปฏิกูล

  24. อำนาจหน้าที่ของท้องถิ่นในการจัดการสิ่งปฏิกูลอำนาจหน้าที่ของท้องถิ่นในการจัดการสิ่งปฏิกูล ตราข้อกำหนดของท้องถิ่น การบริหารจัดการ • กำหนดหลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะเพื่อควบคุม • ประชาชนทั่วไป • ผู้ประกอบกิจการ • รถสูบสิ่งปฏิกูล ดำเนินการเอง มอบให้ผู้อื่น ดำเนินการ อนุญาตให้เอกชนดำเนินการเป็นธุรกิจ

  25. การกำหนดหลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะ สำหรับประชาชนทั่วไป มาตรา 20 • ห้ามการถ่าย เท ทิ้ง ... สิ่งปฏิกูล นอกจากที่จัดไว้ให้ • กำหนดให้มีที่รองรับสิ่งปฏิกูล ที่สาธารณะและเอกชน • กำหนดวิธีการเก็บ ขน และกำจัดสิ่งปฏิกูลให้เจ้าของ อาคารปฏิบัติ • กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการให้บริการของราชการ ส่วนท้องถิ่นในการเก็บ และขนสิ่งปฏิกูล ไม่เกินกฎกระทรวง • (6) กำหนดการอื่นใดที่จำเป็นเพื่อให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะ

  26. การกำหนดหลักเกณฑ์ด้านสุขลักษณะ สำหรับผู้ประกอบการรถสูบสิ่งปฏิกูล มาตรา 20 (ต่อ) (5) กำหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขในการเก็บ ขน และกำจัด สิ่งปฏิกูล เพื่อให้ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 19 ปฏิบัติ ตลอดจนกำหนด อัตราค่าบริการขั้นสูง ตามลักษณะการให้บริการที่ผู้รับใบอนุญาตตามมาตรา 19 จะพึงเรียกเก็บได้ (6) กำหนดการอื่นใดที่จำเป็นเพื่อให้ถูกต้องด้วยสุขลักษณะ รถสูบสิ่งปฏิกูล

  27. การแก้ไขปัญหา เหตุรำคาญ 5

  28. ลักษณะของเหตุรำคาญ ตามมาตรา 25 (1) แหล่งน้ำ ทางระบายน้ำ/ ที่อาบน้ำ /ส้วม/ที่ใส่มูล เถ้า สถานที่อื่นใด • กลิ่นเหม็น • ละอองพิษ • ที่เพาะพันธุ์ ทำเลไม่เหมาะสม สกปรก/หมักหมม ในที่/โดยวิธีใด /มากเกินไป (2) การเลี้ยงสัตว์ จนเป็นเหตุ ให้เสื่อมหรือ เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ ไม่มีการระบายอากาศ การระบายน้ำทิ้ง การกำจัดสิ่งปฏิกูล การควบคุมสารพิษ มี แต่ไม่มีการควบคุม จนเกิด กลิ่นเหม็น /ละอองสารพิษ (3) อาคาร/ โรงงาน /สถานประกอบการ ให้เกิด กลิ่น แสง รังสี เสียง ความร้อน สิ่งมีพิษ ความสั่นสะเทือน ฝุ่น ละออง เขม่า เถ้าหรือกรณีอื่นใด (4) การกระทำใด (5) เหตุอื่นใดที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

  29. ขั้นตอนการแก้ไขปัญหาเหตุรำคาญขั้นตอนการแก้ไขปัญหาเหตุรำคาญ กรณีร้องเรียน กรณีตรวจตรา จพถ. /จพส. ต้องตรวจ ข้อเท็จจริงเสมอ [ม.44 (1)-(5)] เป็นเหตุรำคาญ ไม่เป็นเหตุรำคาญ เหตุรำคาญธรรมดา ฝ่าฝืนข้อกำหนดของท้องถิ่นด้วย แจ้งผู้ร้อง เรื่องยุติ ดำเนินการตามมาตรา 27,28 อันตรายร้ายแรงต้องแก้ไขเร่งด่วน ออกคำสั่งตาม มาตรา 45 สั่งหยุดทันที (ม.45 / ม.46 ว.2) 1 2

  30. กระบวนการใช้มาตรการมาตรการด้านกฎหมายกระบวนการใช้มาตรการมาตรการด้านกฎหมาย

  31. กระบวนการใช้มาตรการมาตรการด้านกฎหมายกระบวนการใช้มาตรการมาตรการด้านกฎหมาย กิจการที่ต้องควบคุมตามกฎหมาย กิจการ / กิจกรรมทั่วไป ประชาสัมพันธ์ ออกข้อกำหนดของท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์ ด้านสุขลักษณะ ควบคุมไม่ให้ก่อเหตุรำคาญ พิจารณาอนุญาตก่อนประกอบกิจการ ตรวจสอบด้านสุขลักษณะ ออกคำแนะนำ ออกคำสั่ง ตรวจสอบด้านสุขลักษณะระหว่างประกอบกิจการ

  32. มาตรการควบคุมกิจการที่ต้องขออนุญาตมาตรการควบคุมกิจการที่ต้องขออนุญาต โทษจำคุก > 6 เดือน ปรับ >10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ม.71 1.ไม่ได้รับ ใบอนุญาต ม.72 โทษจำคุก > 6 เดือน ปรับ >10,000บาท โทษปรับ >2,000บาท ม.77 สั่งให้ปรับปรุง/แก้ไข • 2. ไม่ปฏิบัติตาม • พรบ. • กฎกระทรวง • ข้อกำหนดของท้องถิ่น • เงื่อนไขในใบอนุญาต สั่งพักใช้ใบอนุญาต จพถ.มี อำนาจ * ครั้งละไม่เกิน 15 วัน สั่งเพิกถอนใบอนุญาต * ถูกพักใช้ 2 ครั้งขึ้นไป * ต้องคำพิพากษาว่าผิด * มีอันตรายร้ายแรง

More Related