1 / 61

สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

แผนที่เส้นทาง...สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน. Energy-mind School Road Map…. สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม. www.adeq.or.th. มิถุนายน 2555. FACT เกี่ยวกับโลกร้อน. ปี 2554 เฮอริเคนไอรีน ไต้ฝุ่น นกเต็น ไต้ฝุ่นตาลัส. 2554 หนาวจัดที่ยุโรป. หมอกควัน 2555. FACT เกี่ยวกับทุนทางธรรมชาติ.

tola
Download Presentation

สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนที่เส้นทาง...สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงานแผนที่เส้นทาง...สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน Energy-mind School Road Map… สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม www.adeq.or.th มิถุนายน 2555

  2. FACTเกี่ยวกับโลกร้อน

  3. ปี 2554 • เฮอริเคนไอรีน • ไต้ฝุ่น นกเต็น • ไต้ฝุ่นตาลัส

  4. 2554 หนาวจัดที่ยุโรป

  5. หมอกควัน 2555

  6. FACT เกี่ยวกับทุนทางธรรมชาติ ทุนทางธรรมชาติอยู่ในภาวะถดถอย

  7. 12 พฤษภาคม 2555 เวลา 08.06.45 a.m. ที่ศูนย์รวมตะวัน

  8. เกี่ยวกับเชื้อเพลิงปิโตรเลียมเกี่ยวกับเชื้อเพลิงปิโตรเลียม

  9. ทางรอด เตรียมพร้อมรับมือและปรับตัวอยู่ร่วมกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น Living GREEN คนไทย จะต้องอยู่อย่างมีสติ อยู่อย่างพอเพียงและ อยู่อย่างอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

  10. ทำอย่างไร??? คนไทย จึงจะอยู่อย่างมีสติ อยู่อย่างพอเพียงและ อยู่อย่างอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

  11. แนวคิดของ Energy Mind Award โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมสำหรับเยาวชนและคนไทย โรงเรียนมีการบูรณาการหรือผนวก หลักการและสาระด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมเข้าในระบบการดำเนินงานของโรงเรียนบ้าง แต่ไม่ทั้งระบบ (เป็นลักษณะ Event Base) การเข้าร่วมโครงการฯ โรงเรียนมีการนำหลักการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ผนวกเข้าไปในการดำเนินงานของโรงเรียนทั้งระบบ เยาวชนไทยมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม

  12. สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงานสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน เป็นสถานศึกษาหรือโรงเรียนที่มีการนำ หลักการและสาระด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ผนวกเข้าไปในการดำเนินงานของโรงเรียนทั้งระบบ

  13. การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน • การอนุรักษ์พลังงาน • พลังงานไฟฟ้า • น้ำมันเชื้อเพลิง • การใช้น้ำและน้ำทิ้งในโรงเรียน • การป้องกัน ลด และจัดการขยะ สารพิษ ในโรงเรียน

  14. สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงานสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน เป็นสถานศึกษาหรือโรงเรียนที่มีการนำหลักการและสาระด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ผนวกเข้าไปในการดำเนินงานของโรงเรียนทั้งระบบ

  15. วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์โรงเรียน • แผนระยะยาวและแผนปฏิบัติงาน • คณะกรรมการ ระบบงานและภาระงานฝ่ายต่างๆ • การพัฒนาบุคลากร • การนิเทศและประเมินภายใน • การสร้างแรงจูงใจ • อาคาร สถานที่ วัสดุ ครุภัณฑ์ • การเดินทาง • การสื่อสารสัมพันธ์ • กรอบหลักสูตร • แผนการสอน • กระบวนการเรียนการสอน • การใช้สื่อและเทคโนโลยี • การวัดและประเมินผล • การจัดสภาพห้องเรียน • การนิเทศติดตาม • การพัฒนาบุคลากร การจัดการด้านการเรียนการสอน นโยบายและการบริหารจัดการ • กิจกรรมร่วมกับผู้ปกครอง • กิจกรรมร่วมกับศิษย์เก่า • กิจกรรมร่วมกับชุมชน • กิจกรรมร่วมกับหน่วยราชการ • กิจกรรมร่วมกับองค์กรทางสังคม • ศูนย์ส่งเสริมเรียนรู้เพื่อการอนุรักษ์ฯ • การเข้าร่วมสมัชชาเยาวชนฯ กิจกรรม พิเศษอื่นๆ กิจกรรมชุมชนสัมพันธ์ • กิจกรรมประจำวัน เช่น เวรประจำวัน • กิจกรรมประจำภาคการศึกษา • กิจกรรมในวันสำคัญ • กิจกรรมนอกหลักสูตร การดำเนินงานของโรงเรียน

  16. ดังนั้น สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน จึงหมายถึง โรงเรียนที่มีนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม โรงเรียนที่มีการจัดการ ด้านการใช้ทรัพยากร (พลังงาน น้ำ และผลิตภัณฑ์ต่างๆ) การป้องกันและจัดการมลพิษ (น้ำ อากาศ ขยะ) รวมทั้งมีการจัดสภาพภูมิทัศน์ และดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทั่วไป โรงเรียนที่มีการบูรณาการความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน โรงเรียนที่การขยายผลการดำเนินงานด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมสู่ โรงเรียนใกล้เคียง และชุมชน

  17. 1. นโยบายและระบบการดำเนินการตามนโยบายของโรงเรียน • มีนโยบายด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม • เป็นลายลักษณ์อักษร • แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจและจุดมุ่งมั่น • กำหนดจุดมุ่งหมาย (Target) • เป็นนโยบายที่มีแผนปฏิบัติการสนับสนุน • จัดทำแบบมีส่วนร่วม • มีโครงสร้างรองรับมีคณะทำงานด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม • มีการประชาสัมพันธ์หรือมีระบบสื่อสารในองค์กร • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง • มีการสนับสนุนจากโรงเรียน • มีระบบติดตามประเมินผล

  18. 2. การจัดการด้านการใช้ทรัพยากรและ รักษาสิ่งแวดล้อม 2.1 การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรในโรงเรียน • การเลือกซื้อ/ติดตั้ง  ระเบียบพัสดุ/ จัดซื้อ • วิธีใช้(ลดชั่วโมง ลดความขัดแย้ง ลดการรั่วไหล)  มีมาตรการการเฝ้าระวังการสูญเสียรั่วไหลพลังงานและน้ำประปา รวมทั้งมีระบบสื่อสารสร้างความเข้าใจในรูปแบบต่างๆ • การบำรุงรักษา ระเบียบปฏิบัติในการบำรุงรักษาอุปกรณ์ทุกชนิด

  19. การจัดการด้านการใช้พลังงานการจัดการด้านการใช้พลังงาน วิธีใช้ ไฟฟ้า • ระบบอาคาร • ระบบปรับอากาศ • และระบายอากาศ • ระบบแสงสว่าง • เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด เลือกซื้อ น้ำมันเชื้อเพลิง บำรุงรักษา • รถยนต์และการเดินทาง

  20. มีระบบเกี่ยวกับการบำรุงดูแลอุปกรณ์ไฟฟ้าและเฝ้าระวังเกี่ยวกับการลืมปิดไฟในห้องเรียนมีระบบเกี่ยวกับการบำรุงดูแลอุปกรณ์ไฟฟ้าและเฝ้าระวังเกี่ยวกับการลืมปิดไฟในห้องเรียน

  21. มีระบบตรวจสอบการปิดเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้ามีระบบตรวจสอบการปิดเปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มสาระภาษาไทย ผู้รับผิดชอบดูแลเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิด ตั้งแตเวลา 7.30-16.30 น.

  22. ระเบียบปฏิบัติ ด้านการบำรุงรักษา

  23. การจัดการด้านการใช้น้ำในโรงเรียนการจัดการด้านการใช้น้ำในโรงเรียน • อุปกรณ์ เช่น ก็อกน้ำ สุขภัณฑ์ ฝักบัว • พฤติกรรมการใช้ ใช้อย่างไร • การรั่วไหล  การตรวจสอบและซ่อมบำรุง

  24. 2.2 การรักษาสภาพแวดล้อม • การจัดการน้ำทิ้ง โดยเฉพาะจากโรงอาหาร/โรง • ครัว ห้องปฏิบัติการเคมี • การจัดการขยะและสารพิษ • การดูแลคุณภาพอากาศในโรงเรียน (สภาพการจราจร) สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ในโรงเรียน • ฯลฯ

  25. การจัดการน้ำทิ้ง • ระบบระบายน้ำ • การจัดการไขมันในน้ำทิ้ง • การบำบัดน้ำเสีย

  26. การจัดการขยะและสารพิษการจัดการขยะและสารพิษ • จัดการตั้งแต่ต้นทาง • การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ วัสดุสิ้นเปลืองสำนักงาน • การคัดสรรอาหารที่จำหน่ายในโรงเรียน ประโยชน์ต่อสุขภาพ ไม่มีภาระในเรื่องบรรจุภัณฑ์ • แยกขยะ และนำขยะมาใช้ประโยชน์ • Reuse, Recycle (ธนาคารขยะ) • การแปรรูปขยะเปียกให้เป็นปุ๋ย

  27. 3. การจัดการด้านการเรียนการสอน • บูรณาการใน 8 กลุ่มสาระ • จัดทำแผน/กิจกรรมการเรียนการสอนด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม พัฒนารูปแบบและเทคนิค สื่อการเรียนการสอน • การจัดกิจกรรมนอกห้องเรียน เช่น ค่ายวิทยาศาสตร์ ค่ายลูกเสือสิ่งแวดล้อม ค่ายจริยธรรม (สิ่งแวดล้อม) • การจัดกิจกรรมพิเศษ เช่น สัปดาห์วิทยาศาสตร์ การแข่งกีฬาสี งานลอยกระทง งานวันสิ่งแวดล้อมไทย

  28. การบูรณาการความรู้ด้านพลังงานเข้าในสาระวิชาหลัก 8 กลุ่มสาระ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี สุขศึกษาและพละศึกษา หัวเรื่อง ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษา ต่างประเทศ ศิลปะ

  29. ขั้นตอนการบูรณาการ 1. กำหนดเป้าหมายของการบูรณาการ (สาระความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน)  สิ่งที่เราอยากเห็นหรือฝันให้เกิดขึ้นกับนักเรียน 2. กำหนดมาตรฐาน ตัวชี้วัด  ตัวที่จะบอกว่าเราได้อย่างที่เราฝัน ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ หรือไม่ 3. ศึกษาข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นต่อการบูรณาการสาระด้านพลังงานในสาระวิชาหลัก

  30. 4. วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและจัดทำแผนการสอนในแต่ละกลุ่มสาระ • โครงสร้างความรู้ของกลุ่มสาระ 8 กลุ่มสาระ • ภาษาไทย • ภาษาต่างประเทศ • การงานอาชีพและเทคโนโลยี • ศิลปะ • สุขศึกษาและพละศึกษา • สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม • วิทยาศาสตร์ • คณิตศาสตร์ • หาความสัมพันธ์ระหว่างสาระ • คัดเลือกสาระพลังงานตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร • จำแนกสาระตามระดับชั้น • ร้อยเรียงเนื้อหา • โครงสร้างความรู้เกี่ยวกับพลังงาน • เนื้อหาด้านพลังงาน • ข้อมูลพลังงานในท้องถิ่น • ข้อมูลการใช้พลังงานในโรงเรียน

  31. สิ่งสำคัญ การเชื่อมโยงสาระวิชากับหัวเรื่อง วิเคราะห์สาระวิชาหลัก (เนื้อหา กิจกรรม และจุดประสงค์การเรียนรู้) ว่ามีส่วนใดบ้างที่สัมพันธ์กับเรื่องที่กำหนด และจะต้องคำนึงถึงความสมบูรณ์ของเรื่อง รวมทั้งตอบสนองจุดประสงค์ของการเรียนรู้ (หลอมจุดประสงค์การเรียนรู้ของเรื่องนั้นเข้าด้วยกัน)

  32. การบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Interdisplinary) การกำหนดหัวเรื่อง (Theme) • เป็นเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ และมีโอกาสได้เลือกเรียน • เป็นเรื่องที่สามารถโยงความสัมพันธ์ได้หลายวิชาหรือหลายกลุ่มสาระ • เป็นเรื่องที่นักเรียนมีประสบการณ์เดิมอยู่แล้วและสอดคล้องกับชีวิตจริงและมีความหมายต่อผู้เรียน • เป็นเรื่องที่มีแหล่งความรู้ให้ผู้เรียนได้ศึกษาคิดค้นอย่างหลากหลายและเชื่อมโยงความสัมพันธ์กับท้องถิ่นกับความรู้ที่เป็นสากล • เป็นเรื่องที่เหมาะสมกับระดับความสามารถของผู้เรียนและส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนรอบด้าน • การตั้งชื่อเรื่องต้องทันสมัยและน่าสนใจ

  33. การทำบัญชีคาร์บอน Accounting Carbon Footprint

  34. การวัดการเกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สามารถทำได้คือ • การใช้ไฟฟ้าของโรงเรียน • การใช้น้ำมันเชื้อเพลิง และการเดินทาง • ขยะของโรงเรียน • การใช้ผลิตภัณฑ์อื่นๆ โดยประเมินเป็นปริมาณของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

  35. 1. วัดจากการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงโดยตรง • การเผาไหม้ของน้ำมันเชื้อเพลิง เช่นจากการใช้รถยนต์ • • การใช้เชื้อเพลิงในการทำให้ได้ไฟฟ้าโดยตรง เช่น การใช้เครื่องกำเนิดไฟฟ้าของโรงเรียน • • การเดินทางของ ครู บุคลากรของโรงเรียน นักเรียน เพื่อมาคำนวณหาค่าเฉลี่ย • • การเดินทางที่ขึ้นตรงต่อโรงเรียน เช่น รถตู้ของโรงเรียน รถบัสของโรงเรียน

  36. 2. วัดจากการใช้ไฟฟ้า ส่วนใหญ่การเกิดก๊าซ CO2 โดยทางอ้อมจะมาจากการใช้ไฟฟ้า ที่มาจากสายส่ง หรือไฟฟ้าที่ซื้อมานั่นเอง โดยค่าเฉลี่ยของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากการใช้ไฟฟ้าของประเทศไทยต่อหน่วย (กิโลวัตต์-ชั่วโมง) อยู่ที่ 0.5 กิโลกรัมของคาร์บอนไดออกไซด์ (EGAT2007) ขึ้นอยู่กับเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า

  37. 3. ที่มาอื่นๆ ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ • การเดินทางของพ่อค้า แม่ค้า กรณีมีการซื้อหรือเลี้ยงอาหาร • การใช้ก๊าซหุงต้ม เพื่อประกอบอาหารของโรงเรียน • การเดินทางของผู้ปกครองนักเรียน • การเกิดก๊าซมีเทน จากขยะในโรงเรียน (สามารถประเมินเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้) • การจัดกิจกรรมนอกโรงเรียน เช่นการพานักเรียนไปทัศนศึกษา (การขึ้นรถ ลงเรือ ) • การคำนวณหาคาร์บอนที่มาจาก วัสดุสิ้นเปลืองต่างๆ อุปกรณ์เครื่องใช้ เฟอร์นิเจอร์ฯลฯ ถ้าหาได้

  38. 4. การขยายผลสู่โรงเรียนใกล้เคียงและชุมชน • การทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่น เช่น ร่วมกับอำเภอ ชุมชน หรือโรงเรียนอื่นๆ ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ หรือทำในรูปของภาคีเครือข่ายต่างๆ • การเผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมสู่ชุมชน

  39. แผนที่เส้นทางสู่การเป็นแผนที่เส้นทางสู่การเป็น สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน

  40. 1. จัดตั้งคณะทำงาน จัดทำและประกาศนโยบาย • ได้คนทำงาน • บุคลากรมีความเข้าใจ มีวิสัยทัศน์และเป้าหมายร่วม • ได้ตัวแทนเข้ามาร่วมกระบวนการ

  41. การจัดตั้งคณะทำงานและสร้างทีมงานการจัดตั้งคณะทำงานและสร้างทีมงาน • แต่งตั้ง • ให้แต่ละฝ่าย/แผนกคัดเลือกส่งตัวแทน • เปิดรับสมัคร www.adeq.or.th

  42. จัดตั้งคณะทำงานตามประเด็นที่จะทำจัดตั้งคณะทำงานตามประเด็นที่จะทำ • คณะทำงานอนุรักษ์พลังงาน • คณะทำงานอนุรักษ์น้ำ • คณะทำงานจัดการขยะ • ฯลฯ จัดตั้งคณะทำงานตามหน้าที่ที่จะทำ • คณะทำงานด้านการจัดกิจกรรมรณรงค์ • คณะทำงานด้านการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี • คณะทำงานหลักสูตรและการเรียนการสอน • ฯลฯ www.adeq.or.th

  43. โครงสร้างการบริหาร ของโรงเรียนทั่วๆไป งานนโยบายและแผน การติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผน ฯลฯ พัฒนาหลักสูตร วัดและประเมินผล การจัดการเรียนรู้ งานพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ฯลฯ งานวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา งานประกันคุณภาพการศึกษา ฯลฯ อาคารสถานที่ ยานพาหนะ พัสดุ จัดซื้อ บัญชี การเงิน ประชาสัมพันธ์ ฯลฯ งานสำมะโนนักเรียน กิจกรรมนักเรียน งานส่งเสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรม กีฬาสี ฯลฯ

  44. คณะทำงานอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม โรงเรียน... คณะกรรมการอำนวยการด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการสนับสนุน คณะกรรมการดำเนินงาน การใช้พลังงาน นโยบายและแผน การใช้น้ำและน้ำทิ้ง ประชาสัมพันธ์ การจัดการขยะ การมีส่วนร่วมของบุคลากร สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ คุณภาพอากาศในโรงเรียน หลักสูตรและการเรียนการสอน คณะกรรมการติดตามและประเมินผล

  45. 2. เข้ารับการฝึกอบรมที่ศูนย์รวมตะวัน เพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับ... • การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม • แนวทางในการสำรวจการรั่วไหลในการใช้พลังงานและทรัพยากรอื่นๆ • การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน • Roadmap สถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน • การทำงานเป็นทีม • รู้จัก/แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานของแต่ละโรงเรียน

  46. และห้ามพลาด ในการเข้าร่วมกิจกรรม การประชุมปฏิบัติการ การจัดทำแผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  เดือนกรกฎาคม การประชุมชี้แจงแนวทางในการกรอกแบบประเมินมาตรฐานสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน  เดือนกันยายน และ... กิจกรรมพลังงานสัญจร (Energy Road show) 10 ครั้ง สำหรับโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน (เงื่อนไข  ต้องเป็นโรงเรียนที่ส่งแผนฯ ปฏิบัติการการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน มายัง กฟน. หรือ สพส. แล้วเท่านั้น)

  47. 3. สำรวจข้อมูลด้านการใช้พลังงานในโรงเรียน • ได้ข้อมูลการใช้พลังงานในโรงเรียน • รู้ปัญหาเกี่ยวกับการใช้พลังงานของโรงเรียน • ปัญหาทางด้านเทคโนโลยี • ปัญหาด้านการบำรุงรักษา • ปัญหาเกี่ยวกับการใช้พฤติกรรมการใช้ • รู้ศักยภาพและแนวทางในการดำเนินงาน ทำให้วางแผนได้ตรงประเด็น

  48. แนวทางการสำรวจข้อมูลพลังงานแนวทางการสำรวจข้อมูลพลังงาน • กำหนดขอบเขตและขั้นตอนการเก็บข้อมูลทางด้านพลังงาน • จัดทำ Flow-Chart, แบบฟอร์มสำรวจการรั่วไหลและสูญเสีย • เก็บข้อมูลการใช้พลังงาน: ปริมาณ (ตรวจสอบบิลค่าไฟย้อนหลัง) และรูปแบบการใช้ (ปิดเทอมและเปิดเทอมในและนอกเวลาทำการ) การสูญเสียและรั่วไหล • วิเคราะห์ข้อมูล: หาแนวทางในการจัดการกำหนดเป้าหมาย

More Related