1 / 42

ISI Impact Factors

ISI Impact Factors. 30 th September 2005 Suan Dusit Rajabhat University. Narongrit Sombatsompop. http://www.onesqa.or.th/knowledge/printed.html. ISI Indexes. Impact Factor เป็นดัชนีที่บ่งบอกปริมาณการอ้างอิงของบทความในวารสารต่อหนึ่งบทความในช่วงเวลาหนึ่งๆ

tricia
Download Presentation

ISI Impact Factors

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ISI Impact Factors 30th September 2005 Suan Dusit Rajabhat University Narongrit Sombatsompop

  2. http://www.onesqa.or.th/knowledge/printed.html

  3. ISI Indexes • Impact Factor เป็นดัชนีที่บ่งบอกปริมาณการอ้างอิงของบทความในวารสารต่อหนึ่งบทความในช่วงเวลาหนึ่งๆ • Immediacy Index เป็นดัชนีที่บ่งบอกความเร็วที่บทความในวารสารถูกนำไปอ้างอิงในปีที่มีการตีพิมพ์ • Cited Half-Life เป็นดัชนีที่บ่งบอกระยะเวลาที่บทความในวารสารหนึ่งๆ ยังคงสามารถถูกนำมาใช้อ้างอิง

  4. What is Impact Factor(IF) ? • IF is an index value that expresses how often the average article in a journal is cited in a given time period • Created by Eugene Garfield and Irving H. Sher of Institute for Scientific Information (ISI) in early 1960s to help selecting journals for the Science Citation Index (SCI) which created in 1961 • IF is reported by ISI in Journal Citation Reports (JCR) • IF is one of the 3 indexes created by ISI

  5. วิธีการคำนวณค่า Impact Factor ของ ISI • IF = วารสาร NEW ENGL J MEDมีค่า Impact Factor เท่ากับ 31.736 คำนวณจาก จำนวนรายการอ้างอิงในปี 2002 ที่อ้างถึงบทความปี 2000-01 ของวารสาร NEW ENGL J MED ปี 2000 = 12226 ครั้ง, ปี 2001 = 11703 ครั้ง ปี 2000 + 2001 = 23929 ครั้ง จำนวนบทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในปี 2000-01 ของวารสาร NEW ENGL J MED ปี 2000 = 379 บทความ, ปี 2001 = 375 บทความ ปี 2000 + 2001 = 754 บทความ IF = จำนวนครั้งที่ถูกอ้างอิงในปี 2002/จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในปี 2000-01 =23929 / 754= 31.736

  6. วิธีการคำนวณค่า Immediacy Index ของ ISI • II = วารสาร NEW ENGL J MED มีค่า Immediacy Index เท่ากับ 8.138 คำนวณจาก จำนวนรายการอ้างอิงในปี 2002 ที่อ้างถึงบทความปี 2002 ของวารสาร NEW ENGL J MED ปี 2002 = 3076 ครั้ง จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในปี 2002 ของวารสาร NEW ENGL J MED = 378 บทความ II =จำนวนครั้งที่ถูกอ้างอิงในปี 2002/ จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในปี 2002 =3076/ 378=8.138

  7. วิธีการคำนวณค่า Cited Half-life ของ ISI • CHL =จำนวนปี(นับถอยหลังจากปัจจุบัน) ซึ่งนับได้เป็น 50% ของการถูกอ้างอิงจากวารสารในปีปัจจุบัน วารสาร NEW ENGL J MEDมีค่า Cited Half-Life เท่ากับ 7.2 คำนวณจาก 1. ปริมาณการอ้างอิงภายในปี 2002 ที่อ้างถึงบทความจากวารสาร NEW ENGL J MED ซึ่งตีพิมพ์ในปีต่างๆ ดังนี้ Total/143124 2002/3076 2001/11703 2000/12226 1999/12535 1998/11679 1997/9791 1996/8894 1995/8760 1994/7218 1993/8052 2. เปอร์เซ็นต์สะสมของการอ้างอิงภายในปี 2002 ที่อ้างถึงบทความจากวารสาร NEW ENGL J MED ซึ่งตีพิมพ์ในปีต่างๆ 2002/2.15 2001/10.33 2000/18.87 1999/27.63 1998/35.79 1997/42.63 1996/48.84 1995/54.96 1994/60.01 1993/65.63 ตัวเลขจำนวนเต็ม : จำนวนปีที่นับถอยหลังจากปีปัจจุบัน (2002) ไปจนได้ค่าเปอร์เซ็นต์สะสมของจำนวนการอ้างอิงน้อยกว่า หรือเท่ากับ 50% (คือปี 1996 หรือเท่ากับ 7 ปี) ตัวเลขเศษ : A = 50% ลบด้วยจำนวนเปอร์เซ็นต์ที่เกือบถึง 50% (50.00-48.84 = 1.16) B = จำนวนเปอร์เซ็นต์ที่เกือบถึง 50% ลบด้วยจำนวนเปอร์เซ็นต์ในช่องถัดไปทางขวา (54.96-48.84 = 6.12) C = A/B = 1.16/6.12 = 0.18 (ปัดเศษ) = 0.2 ปี ค่า Cited Half-Life = 7.2 ปี

  8. ISI Citation Databases • Science Citation Index ---> 5,876 science and technical journals • Social Science Citation Index--->1,700 journals • Arts and Humanities Citation Index --->1,130 journals

  9. Variations in Impact Factor • Generalized Citation Curve • Subject Variation in Impact Factors • Impact Factors and number of Authors per paper • Impact Factors and Journal Type • Impact Factor Fluctuation VS Journal Size • Impact Factors Measurement Window Fluctuations

  10. Generalized Citation Curve

  11. Subject Variation in Impact Factors • Impact Factors and number of Authors per paper

  12. Impact Factors and Journal Type

  13. Impact Factor Fluctuation VS Journal Size

  14. Journal Citation Reports (JCR) Year 2003 - Science EditionCategories : MEDICINE, GENERAL & INTERNAL Journal Abbreviation Impact Factor NEW ENGL J MED 34.833 JAMA-J AM MED ASSOC21.455 LANCET 18.316 ANN INTERN MED12.427 ANNU REV MED11.381 BRIT MED J7.209 ARCH INTERN MED6.758 CAN MED ASSOC J4.783 MEDICINE 4.500 AM J MED 4.403 Journal Abbreviation Impact Factor REV CLIN ESP 0.257 IRISH J MED SCI 0.224 HOSP MED 0.208 W INDIAN MED J0.195 MED PRIN PRACT0.194 B ACAD NAT MED PARIS0.193 ANN SAUDI MED 0.124 PRIMARY CARE PSYCHIA0.111 HARVEY LECT0.071 MED SPORT 0.043

  15. Journal Citation Reports (JCR) Year 2003 - Science EditionCategories :ENGINEERING, MECHANICAL Journal Abbreviation Impact Factor ADV APPL MECH 4.222 PROG ENERG COMBUST2.963 INT J PLASTICITY 2.768 J MICROELECTROMECH2.759 AEROSOL SCI TECH 1.877 J AEROSOL SCI1.738 TRIBOL LETT1.504 INT J HEAT MASS TRAN1.293 J HEAT TRANS-T ASME 1.252 INT J HEAT FLUID FL 1.052 Journal Abbreviation Impact Factor T CAN SOC MECH ENG0.140 MECH ENG 0.137 J OFFSHORE MECH ARCT0.133 FORSCH INGENIEUR WES0.116 BWK-ENERGIE-FACHMAG0.049 STROJ VESTN-J MECH E 0.048 STROJARSTVO 0.047 PROF ENG0.041 J JPN SOC TRIBOLOGIS 0.023 TURBOMACH INT 0.023

  16. Journal Citation Reports (JCR) Year 2003 - Science EditionCategories :POLYMER SCIENCE Journal Abbreviation Impact Factor PROG POLYM SCI 7.759 ADV POLYM SCI6.955 MACROMOLECULES 3.621 MACROMOL RAPID COMM 3.236 BIOMACROMOLECULES 2.824 EUR PHYS J E 2.445 MACROMOL BIOSCI 2.439 POLYMER 2.340 J POLYM SCI POL CHEM 2.226 J MEMBRANE SCI2.081 Journal Abbreviation Impact Factor J SOC RHEOL JPN0.309 J REINF PLAST COMP0.277 POLYM-KOREA0.269 IRAN POLYM J0.250 SEN-I GAKKAISHI0.245 KOBUNSHI RONBUNSHU0.243 MECH COMP MATER 0.202 J POLYM ENG 0.200 J ELASTOM PLAST 0.158 KUNSTST-PLAST EUR0.133

  17. Journal Citation Reports (JCR) Year 2003 - Science EditionCategories :COMPUTER SCIENCE, INTERDISCIPLINARY APPLICATION Journal Abbreviation Impact Factor BIOINFORMATICS 6.701 J COMPUT BIOL 4.600 MED IMAGE ANAL 4.442 IEEE T MED IMAGING 3.755 J CHEM INF COMP SCI3.078 J MOL GRAPH MODEL 2.929 J AM MED INFORM ASSN 2.510 J COMPUT AID MOL DES 2.366 INT J HIGH PERFORM C 2.311 J MOL MODEL2.135 Journal Abbreviation Impact Factor COMPUT HUMANITIES 0.279 MATH COMP MODEL DYN0.255 SIMUL-T SOC MOD SIM0.243 J STAT COMPUT SIM0.224 IEEE COMPUT APPL POW0.218 CIN-COMPUT INFORM NU0.217 INTEGR COMPUT-AID E0.192 COMPUT GEOSCI 0.175 COMPUT ELECTR ENG0.160 SIMUL MODEL PRACT TH0.107

  18. Limitations of ISI Impact Factor • There is no normalization for reference practices and traditions in the different fields and disciplines • The value of the impact factors is affected by the subject area • There is no distinction in regard to the nature and merits of the citing journals • There is a bias in favor of journals with lengthy papers, e.g. review journals, original research articles and notes.

  19. Limitations of ISI Impact Factor (Cont.) • A high impact factor value of one journal does not correlate to the high citation rate of each article in that journal • The value does not exclude self-citations. • The concept of citable documents is not considered. • The journal impact factors are sometimes inaccurate for a number of journals. • The two-years citation window used in the calculation method by ISI “is considered too short esp. for ‘slow’ evolving disciplines”

  20. What is a good journal? • Be international documents** • High total citations • High impact factors • Highly recommended by researchers in the field. • Hard-print and online publications.

  21. Elseviervs John Wiley & Sons

  22. Advantages of IF • Improving research quality - higher academic ranks. • Subscribingthe journals to institutes. • Fast publishing >> gain more citations over time. • Eliminating the journals to stock. • Writing better and more academically accurate. • Fund granting and academic awards. • Be more competitive internationally.

  23. ผลงานตีพิมพ์ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของนักวิจัยไทยในฐานข้อมูลScience Citation Index (SCI)ระหว่างปี พ.ศ. 2538-2546

  24. จำนวนบทความของนักวิจัยไทยในฐานข้อมูล SCI

  25. จำนวนผลงานตีพิมพ์ของไทยและประเทศในทวีปเอเชียที่ปรากฏในฐานข้อมูล SCI ระหว่างปี ค.ศ. 1995-2003

  26. สาขาวิชาหลัก (PrimaryField) ที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยสูงสุด 10 อันดับแรก ระหว่างปี ค.ศ. 1995-2003

  27. หน่วยงานที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยสูงสุด 10 อันดับแรกระหว่างปี ค.ศ. 1995-2003

  28. จำนวนครั้งที่บทความของนักวิจัยไทยถูกอ้างอิงจากวารสารวิชาการนานาชาติในฐานข้อมูล SCI

  29. สาขาวิชาหลัก(PrimaryField) ที่มีการอ้างอิงสูงสุด 10 อันดับแรกระหว่างปี ค.ศ. 1995-2003

  30. หน่วยงานที่ถูกอ้างอิงสูงสุด 10 อันดับแรกระหว่างปี ค.ศ. 1995-2003 ปี 1995-2002 เป็นข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2546ปี 2003 เป็นข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2547 ในฐานข้อมูล SCI

  31. ประเทศที่มีจำนวนผลงานตีพิมพ์ร่วมกับนักวิจัยไทยมากที่สุด 10 อันดับแรก ระหว่างปี ค.ศ. 1995-2003

  32. สาขาวิชาหลัก (PrimaryField) ที่มีผลงานตีพิมพ์ร่วมกับนักวิจัยต่างประเทศระหว่างปี ค.ศ. 1995-2003 มากที่สุด 10 อันดับแรก

  33. หน่วยงานที่มีผลงานตีพิมพ์ร่วมกับนักวิจัยต่างประเทศระหว่างปี ค.ศ. 1995-2003 มากที่สุด 10 อันดับแรก

  34. บทสรุปของงานวิจัย จากการศึกษาผลงานตีพิมพ์ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยที่ ปรากฏในฐานข้อมูล SCI ระหว่างปี พ.ศ. 2538-2546 พบว่า • จำนวนบทความของนักวิจัยไทยเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ จาก 700 ถึง 2,216 บทความต่อปี • นักวิจัยไทยมีบทความวิจัยรวมทั้งสิ้น 11,604 บทความ จัดเป็นลำดับที่ 7 ของทวีปเอเชียและลำดับที่ 2 ของกลุ่มประเทศอาเซียน • 3. จำนวนบทความส่วนใหญ่มาจากนักวิจัยของ Ministry of University Affairs คิดเป็นจำนวน 10,445 บทความ โดยที่ ม. มหิดล จุฬาลงกรณ์ฯ และ • ม.เชียงใหม่ มีจำนวนบทความวิจัยสูงสุด 3 อันดับแรก • สาขาวิชาที่มีจำนวนบทความวิจัยสูงสุดคือClinical medicine(สาขาวิชาหลัก) และสาขาChemical Engineering(สาขาวิชาย่อย) • บทความวิจัยของนักวิจัยไทยที่ถูกอ้างอิงส่วนใหญ่มาจากนักวิจัยของ Ministry of University Affairs โดยที่ ม.มหิดล จุฬาลงกรณ์ฯ และม.เชียงใหม่ เป็นหน่วยงานที่บทความวิจัยถูกอ้างอิงสูงสุด 3 อันดับแรก

  35. บทสรุปของงานวิจัย (ต่อ) • สาขาวิชาที่บทความวิจัยถูกอ้างอิงสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาวิชา Clinical medicine (สาขาวิชาหลัก) สาขา Infectious Diseases (สาขาวิชารอง)และ สาขา General & Internal Medicine (สาขาวิชาย่อย) • ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นประเทศที่มีจำนวนความร่วมมือกับนักวิจัยไทยในการตีพิมพ์ผลงานวิจัยมากที่สุด รองลงมาเป็นประเทศญี่ปุ่นและอังกฤษตามลำดับ • สาขาวิชาที่มีจำนวนความร่วมมือที่นักวิจัยไทยตีพิมพ์ผลงานวิจัยร่วมกับนักวิจัยในต่างประเทศสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สาขาClinical medicine(สาขาวิชาหลัก) สาขาChemistry(สาขาวิชารอง) และ สาขาGeneral & Internal Medicine(สาขาวิชาย่อย) • จำนวนความร่วมมือที่นักวิจัยไทยตีพิมพ์ผลงานวิจัยร่วมกับนักวิจัยในต่างประเทศส่วนใหญ่มาจากนักวิจัยของ ม.มหิดล รองลงมาเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • การสร้างความร่วมมือในการทำวิจัยกับนักวิจัยในต่างประเทศ เป็นผลให้เกิดการเพิ่มจำนวนบทความวิจัยและจำนวนครั้งที่บทความวิจัยได้รับการอ้างอิง

More Related