1 / 82

ดร . บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาเครื่องมือวัดผล

การวัดและประเมินตามสภาพจริงสู่การปฏิบัติ. ดร . บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาเครื่องมือวัดผล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. จุดมุ่งหมายการจัดการศึกษา. เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้มีความดี ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข.

trung
Download Presentation

ดร . บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาเครื่องมือวัดผล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวัดและประเมินตามสภาพจริงสู่การปฏิบัติการวัดและประเมินตามสภาพจริงสู่การปฏิบัติ ดร. บุญชูชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาเครื่องมือวัดผล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  2. จุดมุ่งหมายการจัดการศึกษาจุดมุ่งหมายการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้มีความดี ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ดำรงชีวิตอย่างมีความสุข ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  3. ผลที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียน จากการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ • คุณภาพผลงาน (สูงขึ้น) • ระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน (สูงขึ้น) • คะแนนจากการทดสอบด้วยแบบทดสอบ มาตรฐาน / เครื่องมืออื่น ๆ (สูงขึ้น) • ปัญหาด้านระเบียบ วินัย (ลดลง) • อัตราการมาเรียน (สูงขึ้น) • มีทักษะชีวิต (สูงขึ้น) ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  4. หลักสูตรแบบอิงมาตรฐาน หลักสูตรแบบอิงมาตรฐาน • ใช้มาตรฐานเป็นเป้าหมายการจัดการศึกษา ซึ่งเน้นที่ผล ที่เกิดกับผู้เรียน • การจัดการเรียนการสอน ต้องเป็นไปเพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่เป้าหมายที่กำหนด • ใช้มาตรฐานเป็นตัวนำในการพัฒนา ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  5. จุดแข็งของการใช้หลักสูตรอิงมาตรฐานเป็นหลัก ในการจัดการศึกษาจุดแข็งของการใช้หลักสูตรอิงมาตรฐานเป็นหลัก ในการจัดการศึกษา • การกำหนดมาตรฐานระดับชาติ เป็นการประกันโอกาส ความเท่าเทียมกันในการศึกษาของผู้เรียน • มาตรฐานทำให้เกิดความชัดเจนว่า ผู้เรียนจะต้องรู้อะไร ทำอะไรได้ เป็นประโยชน์ต่อการติดตามประเมินความ ก้าวหน้า และให้ความช่วยเหลือ • มาตรฐานจะเป็นหลักกลางในการอ้างอิง และเป็นตัว กำหนดกรอบการประเมินระดับชาติ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  6. มาตรฐานจะช่วยให้ผู้เรียน รู้ผลการปฏิบัติที่คาดหวัง จากการเรียนอย่างชัดเจน มาตรฐานจึงช่วยให้ผู้เรียน พัฒนาการเรียนของตน • มาตรฐานจะช่วยครูในการออกแบบหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ และการประเมิน • มาตรฐานช่วยให้ผู้เกี่ยวข้อง อาทิ ผู้ปกครอง ชุมชน ผู้ประกอบการ สื่อสารตรงกันเกี่ยวกับหลักสูตร ซึ่งจะ เป็นประโยชน์ต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  7. เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน • เน้นผลที่เกิดกับผู้เรียนเป็นสำคัญ • สาระและจุดเน้นของการประเมิน • - พัฒนาการ : ผลการเรียนรู้ที่เพิ่มพูนขึ้น • - ผลสัมฤทธิ์ : ผลที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เรียนทุกด้านโดยรวม • วิธีการประเมิน : ใช้วิธีการที่หลากหลาย ควบคู่ไปกับ การเรียนการสอน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  8. ข้อกำหนดการวัดและประเมินผลการเรียนข้อกำหนดการวัดและประเมินผลการเรียน ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน • ระดับชั้นเรียน • ระดับสถานศึกษา • ระดับชาติ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  9. การวัดและประเมินระดับชั้นเรียนการวัดและประเมินระดับชั้นเรียน จุดมุ่งหมาย :ดูความก้าวหน้าของผู้เรียนรายบุคคลด้านความรู้ ทักษะ พัฒนาการ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อทราบปัญหา อุปสรรคในการเรียนรู้ที่จะนำไปเป็นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหา/ ช่วยเหลือผู้เรียน ผู้รับผิดชอบ :ผู้สอน ทั้งนี้อาจมีผู้ร่วมประเมิน/ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้เรียนเอง เพื่อน ผู้ปกครอง ครูอื่น ๆวิธีการ :ดำเนินการอย่างต่อเนื่องควบคู่ไปกับการจัดการเรียนรู้ และในทุก บริบทของผู้เรียน โดยพิจารณาจากร่องรอย หลักฐานที่แสดงถึง พัฒนาการการเรียนรู้ อาทิ ผลงาน โครงงาน แบบฝึกหัด การทดสอบ แบบบันทึกการสังเกต สัมภาษณ์ แบบบันทึกของผู้สอน ผู้ปกครอง เพื่อน ครูคนอื่น ๆ และของผู้เรียนเอง แฟ้มสะสมงาน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  10. การวัดและประเมินระดับสถานศึกษาการวัดและประเมินระดับสถานศึกษา จุดมุ่งหมาย : เพื่อสรุปผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ว่ามีผลการเรียนรู้ตามที่ คาดหวังหรือไม่ หรือมีผลสัมฤทธิ์ในระดับใด เมื่อสิ้นภาคเรียน/ ปีการศึกษา/จบช่วงชั้น เพื่อการตัดสินผลการเรียน รายวิชาและ ตัดสินการเลื่อนช่วงชั้น (ทั้งส่วนที่เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน) ผู้รับผิดชอบ : ผู้บริหาร คณะกรรมการฯ ตามที่สถานศึกษากำหนด ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  11. การวัดและประเมินระดับสถานศึกษาการวัดและประเมินระดับสถานศึกษา วิธีการ : (ต่อ) • นำผลจากการวัดและประเมินระดับชั้นเรียนมาใช้ • มีการประเมินผลสรุปรวม พิจารณาร่วมกับผลจากการวัด และประเมินระดับชั้นเรียน ออกแบบการประเมิน ซึ่งอาจมีลักษณะเป็นการสอบรวบยอดที่ครอบคลุมสาระหรือการปฏิบัติที่ผู้เรียนได้เรียนแล้ว ที่เชื่อว่า จะเป็นตัวแทนแสดงความรู้ความสามารถ พัฒนาการของ ผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนด นำผลการประเมิน/ คะแนนมาตัดสินผลการเรียน/การเลื่อนชั้น การนำไปใช้ : • ให้ระดับผลการเรียน ตัดสินการผ่านรายวิชา เลื่อนชั้น/ช่วงชั้น • รายงาน ผู้ปกครอง ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้อง ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  12. ความคาดหวังเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนความคาดหวังเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น มี 2 ลักษณะ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งนั้น : ข้อเท็จจริง หลักการ ช่วงเวลา ความคิดรวบยอด เหตุผล การอ้างสรุป ฯลฯ (ความรู้) ความรู้เกี่ยวกับวิธีการ : กระบวนการ ยุทธศาสตร์ การหาความจริง (ทักษะ) ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  13. กระบวนการประเมินผู้เรียนกระบวนการประเมินผู้เรียน Assessment - กำหนดวิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูล - สร้าง/เลือกเครื่องมือ - ดำเนินการใช้เครื่องมือ - รวบรวมข้อมูล (ต้องดูและกำจัดความ ลำเอียงที่เกิดจากวิธีการ เครื่องมือ) - ประเมินเพื่ออะไร - ประเมินอะไร - เกณฑ์ที่ใช้ - วิธีการดำเนินการ (ตัดสินใจวางแผน) - ทบทวนจุดอ่อน-แข็ง ของแต่ละระยะ - ประเมินความ เหมาะสมของวิธีการที่ใช้ - ตัดสินใจปรับปรุงพัฒนา การสอน / การประเมิน Evaluation - นำข้อมูลที่รวบรวมได้ มาตัดสิน - รายงานผลการประเมิน (นักเรียน ผู้ปกครอง ผู้เกี่ยวข้อง) ระยะเตรียมการ (preparation) ระยะทบทวน (reflection) ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  14. ตอบคำถามต่อไปนี้ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  15. 1. อะไรที่นักเรียนต้องรู้และต้องทำได้ ระบุรายการความรู้และทักษะที่จะ นำมา... ตรวจสอบ Standard ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  16. 2. อะไรเป็นสื่อบ่งบอกว่านักเรียนบรรลุ มาตรฐานแล้ว ?เพื่อจะบ่งชี้ว่านักเรียนบรรลุมาตรฐานจะต้องออกแบบหรือเลือก... ที่เกี่ยวข้อง Authentic Tasks ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  17. 3. งานที่กำหนดที่ดีจะต้องมีลักษณะ เช่นไร ? ถ้าจะตัดสินว่า ผู้เรียนทำได้ดีจะต้องระบุว่า คุณลักษณะของการปฏิบัติที่ดีเป็นอย่างไร Criteria ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  18. นักเรียนทำได้ ดีเพียงใด ? • เพื่อจำแนกผลการปฏิบัติของผู้เรียน • ตามเกณฑ์ต่าง ๆ จำเป็นต้องสร้าง Rubric ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  19. 5.นักเรียนส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติ ได้ดีเพียงใด ? ระดับต่ำสุดที่คุณครูต้องการ ให้นักเรียนปฏิบัติ คือ 6. นักเรียนจำเป็นต้องได้รับ การปรับปรุงพัฒนาเรื่องใด ? ข้อมูลสารสนเทศจาก rubric จะต้องเป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ ผู้เรียน และเป็นข้อมูลให้คุณครู Cut Scoreor Benchmark Adjust Instruction ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  20. 1. อะไรที่นักเรียนต้องรู้และต้องทำได้ระบุรายการ ความรู้และทักษะที่จะนำมา... ตรวจสอบ Standard 2. อะไรเป็นสิ่งบ่งบอกว่านักเรียนบรรลุมาตรฐานแล้ว? เพื่อจะบ่งชี้ว่านักเรียนบรรลุมาตรฐานจะต้องออกแบบหรือเลือก... ที่เกี่ยวข้องAuthentic tasks 3. งานที่กำหนดที่ดีจะต้องมีลักษณะเช่นไร ? ถ้าจะตัดสินว่า ผู้เรียนทำได้ดีจะต้องระบุว่าคุณลักษณะของการปฏิบัติที่ดีเป็นอย่างไร Criteria = กำหนดมาตรฐาน = พัฒนาภาระงานที่ให้นักเรียน ปฏิบัติ ซึ่งจะบ่งบอกว่า ผู้เรียนบรรลุมาตรฐาน = ระบุลักษณะงานปฏิบัติ ที่ดีกว่า เป็นเช่นไร (กำหนดเกณฑ์) 4. นักเรียนทำได้ดีเพียงใด ? เพื่อจำแนกผลการปฏิบัติของผู้เรียนตามเกณฑ์ต่างๆ จำเป็นต้องสร้าง Rubric = ในแต่ละเกณฑ์มีการ กำหนดระดับการปฏิบัติ 5.นักเรียนส่วนใหญ่ต้องปฏิบัติ ได้ดีเพียงใด ? ระดับต่ำสุดที่คุณครูต้องการ ให้นักเรียนปฏิบัติ คือ 6. นักเรียนจำเป็นต้องได้รับ การปรับปรุงพัฒนาเรื่องใด ? ข้อมูลสารสนเทศจาก rubricจะต้องเป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ ผู้เรียน และเป็นข้อมูลให้คุณครู Adjust Instruction Cut Scoreor Benchmark ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  21. การปฏิบัติ 1. กำหนดจุดมุ่งหมายการประเมิน • ผลการเรียนรู้ที่เกิดกับผู้เรียน • วินิจฉัย ข้อกำหนดที่สำคัญ • มีความชัดเจน อธิบายได้ • สอดคล้องและสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับมาตรฐานการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ สำคัญที่ต้องการให้เกิดขึ้น ทั้งระดับชาติและท้องถิ่น • สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนบรรลุได้ • มีลักษณะเป็นองค์รวม 2. กำหนดผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน (รู้อะไร ทำอะไรได้ ลักษณะที่ต้องการ) 3. กำหนดร่องรอย/หลักฐานการเรียนรู้ 4. ออกแบบจัดประสบการณ์การเรียนรู้ • ควรเป็นสิ่งที่ให้ผู้เรียนได้แสดงออกอย่างเป็น รูปธรรม จากการปฏิบัติ (ผลงาน) • กำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ในรูปแบบที่ ปฏิบัติได้ คำนึงถึงความรู้ ทักษะพื้นฐาน สิ่งต่างๆ ที่จะนำผู้เรียนสู่สัมฤทธิผลตามเป้าหมาย (มาตรฐาน)(นิยามความสามารถ คิดสร้างสรรค์ภาระงาน / คิดกำหนดวิธีการให้คะแนน/บันทึกผล) 5. กำหนดวิธีการที่จะทำให้รู้ว่า ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ มีความรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ 6. กำหนดเกณฑ์และมาตรฐาน เพื่อการตัดสินผล การปฏิบัติของผู้เรียน • วิธีการต้องสอดคล้องและนำไปสู่การตรวจสอบ การเรียนรู้ของผู้เรียนได้ • มีความเฉพาะเจาะจง • ให้คำอธิบายคุณภาพงาน/สิ่งที่ต้องการประเมินได้ชัดเจน • เป็นตัวบ่งชี้สำคัญที่แสดงถึงคุณภาพงาน/การปฏิบัติ การออกแบบการจัดการเรียนรู้และการประเมินผล ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  22. WHAT STUDENTS KNOW WHAT STUDENTS CAN DO Transfer of learning • analyzing • synthesizing • evaluating • problem • problem • creative • facts • basic procedures • basic knowledge TYPICALLY MEASURED BY: Performance Assessments TYPICALLY MEASURED BY: Selected-Response Assessments • Written work • performance • presentations • products • multiple-choice • true/false • matching • fill in the blank • short answer DAILY MONITORING AND ADJUSTING ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  23. การประเมินที่เป็นการประเมินตามสภาพจริงการประเมินที่เป็นการประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) : AAs • ต้องเป็นสิ่งที่มีความหมาย มีคุณค่าต่อผู้เรียน • เป็นทักษะ/ความสามารถที่ต้องใช้ในการ ปฏิบัติงานจริง ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  24. การประเมินตามสภาพจริง ดีอย่างไร • AAs ที่ออกแบบอย่างดี จะมีช่องทางให้ผู้เรียนได้แสดง ความรู้/ความสามารถ ในการปฏิบัติได้มากมาย • จะแสดงให้เห็นทั้งผลผลิตและกระบวนการเรียนรู้ • ทำให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักกับกระบวนการ และ กระตุ้นความรู้สึกเป็นเจ้าของ • AAs ปรับได้ ยืดหยุ่น ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง สะสมไว้ และแสดงให้เห็นการเติบโตของผู้เรียนตลอดเวลา ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  25. (ต่อ) • เนื่องจาก AAs จะต้องสอดคล้องกับหลักสูตร AAs จึงเชื่อมโยงการคิด การกระทำ ทฤษฎี และปฏิบัติ ในบริบทที่เป็นจริง • การประเมินจะต้องบูรณาการ เป็นส่วนหนึ่งของ การสอนและการเรียน • โอกาสในการเรียนอื่น ๆ อาจเกิดขึ้นระหว่างการประเมิน • กระบวนการประเมิน AAs โดยตัวของมันเอง เป็น ประสบการณ์การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ • ให้ผู้เรียนได้ประยุกต์ใช้ ทักษะการคิด • ให้ผลย้อนกลับโดยตัวมันเอง ซึ่งจะทำให้ผู้เรียนและ ผู้สอนนำไปปรับปรุงการดำเนินงานในขั้นต่อไป ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  26. (ต่อ) • AAs เปิดโอกาสให้ใช้การตัดสินใจจากคนหลายกลุ่ม เช่น เพื่อน ครู ชุมชน • การประเมินแบบทางเลือก สามารถปรับใช้ให้สอดคล้อง กับวิธีการเรียนรู้ สนองตอบการสอน • AAs เป็นสิ่งท้าทาย เพราะเป็นวิธีการที่ละทิ้ง กระบวนเก่าๆ เช่น การทดสอบ และเปลี่ยนบทบาทครู และนักเรียน • ใช้เวลามากในการเตรียมการ เพราะต้องทำความชัดเจน ในการกำหนดเป้าหมาย ผลลัพธ์ เกณฑ์ ความคาดหวัง ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  27. เครื่องมือที่ใช้ใน AAs - checklists (ประเมินความก้าวหน้าในการอ่าน/เขียน ความคล่องในการอ่าน/เขียน) - การสร้างสถานการณ์จำลอง (การเขียนความเรียง, งานเขียน)- การสาธิต / การปฏิบัติ- สัมภาษณ์- การนำเสนอปากเปล่า- คำถามที่ให้เขียนตอบ- การสังเกต (เพื่อน ผู้ร่วมงาน ผู้สอน) - บทบาทสมมุติ - แฟ้มสะสมงาน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  28. ลักษณะของ AAs ที่ดี (Custer. 1994, Rudner and Boston 1994) • เป็นภาระงาน, ปัญหาที่มีความหมาย มีคุณค่า ซึ่ง สอดคล้องกับเนื้อหา และผลลัพธ์ของการเรียนการสอน • นำไปใช้กับชีวิตประจำวันได้ • แสดงระดับต่างๆ ของความรู้ รู้ว่าทำไม รู้ว่าอย่างไร • เน้น ผลผลิต และกระบวนการ แสดงความหมาย ทั้งพัฒนาการและผลสัมฤทธิ์ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  29. (ต่อ) • มีหลากหลายมิติ หลากหลายรูปแบบ ทั้งที่เป็นงาน ตามสั่ง (งานเขียนในชั้นเรียน) และงานที่สะสมไว้ (แฟ้มสะสมงาน) • เปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง • ต้องการความคิดที่ซับซ้อน ทักษะการคิดระดับสูง • ชัดเจน ถูกต้อง และแสดงมาตรฐานอย่างเปิดเผย • ยุติธรรม ในวิธีการให้คะแนน การนำไปใช้ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  30. รูปแบบของ AAs • รูปแบบที่เป็นทางการ • มีการดำเนินการอย่างเป็นระบบเพื่อดูความก้าวหน้าของนักเรียน • ตัวอย่าง หลังจบเรื่อง (ซึ่งใช้เวลาสอนประมาณ 4-6 สัปดาห์)ครูต้องรู้ว่า นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในเรื่องราวหรือมีทักษะและความคิดรวบยอดอย่างไร ครูอาจกำหนดให้นักเรียน ทุกคนทดสอบในเรื่องที่อ่าน ตอบคำถาม เขียนเรื่องราวแบบเดียวกัน เพื่อให้ทราบว่า ทักษะและความคิดรวบยอดสำคัญเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวเป็นอย่างไร โดยอ่านจริงเขียนบอกเล่า ประสบการณ์ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  31. เขตพื้นที่ ใช้แบบทดสอบมาตรฐาน หรือแบบทดสอบ ของรัฐมาสอบในระดับชั้นที่สนใจ อาจเพียงปีละครั้ง • คุณครูบางคน อยากรู้พัฒนาการด้านการอ่าน เขียน ของนักเรียน ระยะเริ่มเรียน ระหว่างภาค และสิ้นปี เปรียบเทียบกับเด็กอื่นๆ ในระดับเดียวกัน • ใช้ข้อสอบเฉพาะที่เหมาะกับผู้เรียน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  32. รูปแบบที่ไม่เป็นทางการรูปแบบที่ไม่เป็นทางการ • โครงงาน กลุ่ม, รายบุคคล • การนำเสนอด้วยปากเปล่า • การสาธิต, การปฏิบัติให้ดู • การดึงข้อมูลที่ได้จากกิจกรรมในชั้นเรียน เช่น รายงาน ความเรียง การอภิปราย บันทึกการอ่าน • บันทึก จากการสังเกต ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  33. เพื่อให้เกิดความมั่นใจในมาตรฐานการประเมิน AAs • ครูหรือผู้ให้คะแนนอื่นๆ ต้องได้รับการฝึกฝน อย่างดี • ต้องเตรียมนักเรียนให้เป็นผู้กำกับตนเองได้ สะท้อนตนเองได้ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  34. รูปแบบการประเมินจะต้องให้โอกาสผู้เรียน ในการแสดงความรู้ ความสามารถ จึงจำเป็น ต้องใช้รูปแบบ, วิธีการที่หลากหลาย ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  35. การเขียน • จะออกแบบงานเขียนอย่างไร • จะสร้างแฟ้มสะสมงานที่เป็น งานเขียนอย่างไร ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  36. งานเขียน • เขียนแสดงความรู้ ความรู้สึก ความต้องการ จินตนาการ • เขียนเรียงความ ย่อความ จดหมาย อธิบาย รายงาน ชี้แจงการปฏิบัติ • เขียนแสดงความคิดเห็น เขียนเชิงสร้างสรรค์ • เขียงเชิงวิชาการ โน้มน้าวใจ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  37. งานเขียนกับการประเมินตามสภาพจริงงานเขียนกับการประเมินตามสภาพจริง งานเขียนมีบทบาทสำคัญต่อความรู้ทางวิชาการ อาชีพ สังคม และชีวิตส่วนตัวของผู้คน การพัฒนาความสามารถในการเขียนจึงเป็นสิ่งสำคัญลำดับแรกของการจัดการศึกษา ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  38. นักการศึกษาสามารถใช้การเขียนกระตุ้นทักษะ การคิดระดับสูง ให้เกิดกับผู้เรียน • ความสามารถในการสร้างความเชื่อมโยงที่สมเหตุสมผล • การเปรียบเทียบ ทางเลือกเพื่อแก้ปัญหา • การอ้างเหตุผลเพื่อการสรุป ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  39. การประเมินงานเขียน • การประเมินตามสภาพจริง มีจุดหมายที่จะ ไม่แยกการเขียนออกเป็นเรื่องเอกเทศ • เป้าหมายการประเมิน มุ่งไปที่การบูรณาการ การเขียนกับการสอนในทุกสาขาวิชาที่เรียน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  40. ตัวอย่าง กรณี : การสอนคณิตศาสตร์ ครูจะให้นักเรียนเขียนอธิบายวิธีการ ในการแก้ปัญหา โดย : สามารถประเมินความสามารถในการทำงาน การเขียนไปพร้อมกับการคิดคำนวณตัวเลข ได้ถูก-ผิด ไปพร้อมกัน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  41. กรณี : การสอนวรรณคดี ครูสามารถใช้การประเมินตามสภาพจริง ช่วยให้ ผู้เรียนมีความเข้าใจความเชื่อมโยงของเรื่อง ลักษณะตัวละคร ฉากสำคัญ การเปรียบเทียบ/ เทียบเคียงเค้าโครงเรื่องสมัยใหม่กับยุคเดิม โดย : ให้ผู้เรียนเขียนตอบจากสิ่งที่อ่าน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  42. กรณี : การเรียนวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ครูใหญ่ต้องการให้นักเรียนช่วยพัฒนาโรงเรียน ให้ดีขึ้นจึงกำหนดให้ผู้เรียนเสนอแนวทางแก้ปัญหา ภาระงานที่มอบหมาย ให้เขียนจดหมายถึงครูใหญ่ โดยระบุสภาพปัญหา เสนอแนวทางแก้ปัญหาและแสดงเหตุผลของการเสนอแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการดังกล่าว ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  43. กรณี : การเรียนสังคมศึกษา (ภูมิศาสตร์) ครูสอนเรื่องราวด้านภูมิอากาศ ของภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ หรือจังหวัดในภูมิภาค ภาระงานที่มอบหมาย ให้เขียนจดหมายถึงเพื่อนในภูมิภาคอื่น เล่าเรื่อง เกี่ยวกับจังหวัด หรือภูมิภาคของตน ในประเด็นเกี่ยวกับภูมิอากาศ ภูมิประเทศ อาชีพ ฯลฯ ในทางกลับกันเพื่อนที่อยู่ภูมิภาคอื่น ตอบและเล่าเรื่องราวของตนเช่นกัน ผู้สอนประเมินความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภูมิอากาศ ภูมิประเทศ ฯลฯ จากงานเขียนไปพร้อมกับประเมินความ สามารถในการเขียนเล่าเรื่อง ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  44. การประเมินงานเขียนตามสภาพจริง ต้องสะท้อน • ชนิดงานเขียนลักษณะต่างๆ • ระดับความซับซ้อนที่สัมพันธ์ กับงานที่มอบหมาย ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  45. ลักษณะภาระงานที่กำหนดลักษณะภาระงานที่กำหนด • เป็นปลายเปิดทั้งหมด ซึ่งเด็กต้องเขียนเชิงบรรยาย • อาจจำเป็นต้องใช้ความรู้พื้นฐาน หรือไม่ใช้ก็ได้ • จำกัดเฉพาะบางองค์ประกอบของกระบวนการเขียน เช่น การวางแผน การร่างกรอบ หรือการตรวจสอบ • ใช้คำตอบสั้น อาจเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผน • หรือย่อ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจในประเด็นสำคัญ ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  46. ความสามารถในการอ่าน อ่านเพื่อประสบการณ์การอ่าน อ่านเพื่อข้อมูลข่าวสาร สาระ อ่านเพื่อปฏิบัติงาน อ่านเพื่อความบันเทิง ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  47. วิธีการประเมิน กระทำได้ทั้งในลักษณะการวัดภาคปฏิบัติ การประเมิน ตามสภาพจริง ไม่วัดทักษะย่อย ใช้ข้อความเรื่องราวจากหนังสือ งานเขียนจริง ๆ เพื่อให้อ่าน (ได้สาระ เพลิดเพลิน) ประเมินความสามารถในการอ่าน จากหนังสือหลาย ๆ ประเภท ที่เขียนด้วยจุดมุ่งหมายต่าง ๆ กัน ถามเพื่อให้ผู้เรียนตอบคำถามปลายเปิด ที่ผู้เรียนต้องตีความ แสดงความเห็น แสดงการรับรู้เข้าใจมากกว่า การเลือกตอบ จากตัวเลือก (เขียน อธิบายปากเปล่า เล่าให้ฟัง) ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  48. กรณีตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน สิ่งที่ควรให้ผู้เรียน ได้แสดงออก แสดงความเห็นเกี่ยวกับหนังสือ/สาระ ถ้อยความในหนังสือ อธิบายถ้อยความในหนังสือ ตัดสินเกี่ยวกับสารสนเทศในหนังสือ สรุปความคิดจากหนังสือ/ถ้อยความ เชื่อมโยงความคิดรวบยอดในหนังสือกับประสบการณ์ส่วนตน การวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดจากเรื่องที่อ่าน (สามารถเชื่อมโยงเพื่อให้แสดงออกโดยการ เขียน) ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  49. รูปแบบการประเมินจะเป็นรูปแบบใดขึ้นอยู่กับเวลา สาระ และสิ่งที่ต้องการประเมิน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

  50. แฟ้มสะสมงาน แฟ้มสะสมงาน เป็นที่สะสมชิ้นงานซึ่งแสดงภาพความสำเร็จของผู้เรียน ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ.

More Related