1 / 35

แนวนโยบายการค้าระหว่างประเทศของ ประเทศคู่ค้าสำคัญของไทยที่มีต่อภาคการส่งออก

แนวนโยบายการค้าระหว่างประเทศของ ประเทศคู่ค้าสำคัญของไทยที่มีต่อภาคการส่งออก. โดย ผศ. ดร. ธนวรรธน์ พลวิชัย คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 31 มีนาคม 255 2. เป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ. Recession Depression เศรษฐกิจ ชะลอตัว เศรษฐกิจถดถอย. การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

Download Presentation

แนวนโยบายการค้าระหว่างประเทศของ ประเทศคู่ค้าสำคัญของไทยที่มีต่อภาคการส่งออก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวนโยบายการค้าระหว่างประเทศของประเทศคู่ค้าสำคัญของไทยที่มีต่อภาคการส่งออกแนวนโยบายการค้าระหว่างประเทศของประเทศคู่ค้าสำคัญของไทยที่มีต่อภาคการส่งออก โดย ผศ.ดร. ธนวรรธน์ พลวิชัย คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 31มีนาคม 2552

  2. เป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจ Recession Depression เศรษฐกิจ ชะลอตัว เศรษฐกิจถดถอย • การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • การรักษาความมั่นคงทางเศรษฐกิจ • - ภายในประเทศ (ภาวะเงินเฟ้อ) • - ระหว่างประเทศ (ดุลบัญชีเดินสะพัด) • การสร้างความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ • (การกระจายรายได้)

  3. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ Q1:2539-Q4:2551 (%) เศรษฐกิจถดถอยทั่วโลก วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 ที่มา: สศช.

  4. โครงสร้างเศรษฐกิจของไทยในปัจจุบันโครงสร้างเศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน ขนาดเศรษฐกิจไทย (GDP) ในปี 2551 มีมูลค่า 9,102,785 ล้านบาท

  5. Y = C + I + G + X - M Y = รายได้ประชาชาติ(GDP) C = การบริโภค (Private Consumption) I = การลงทุน (Investment) G = การใช้จ่ายของรัฐบาล (Government Expenditure) X = การส่งออกสินค้าและบริการ (Exports) M = การนำเข้าสินค้าและบริการ (Imports)

  6. สถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลง • กระแสโลกาภิวัฒน์ • การค้าเสรีและการรวมกลุ่มเศรษฐกิจแพร่หลายทั่วโลก • การเคลื่อนตัวของโลกจากยุค “Old Economy” สู่ยุค“New Economy” และก้าวสู่ยุค “Next Economy” • การกีดกันทางการค้าโดยการใช้มาตรการที่ไม่ใช่ภาษี (non-tariff measurement: NTM) มีมากขึ้น • การจัดระเบียบและดุลภาพทางเศรษฐกิจและการเมืองของโลก โดยภูมิภาคเอเชียมีความสำคัญในระบบเศรษฐกิจโลกมากขึ้น • วิกฤตเศรษฐกิจโลก

  7. ยุคสมัยทางเศรษฐกิจและสังคมของโลกยุคสมัยทางเศรษฐกิจและสังคมของโลก เครื่องมือที่สำคัญแห่งยุค 1. อาวุธ 2. ที่ดิน แรงงาน และสัตว์ 3. เครื่องมือและเครื่องจักร 4. ความรู้ ข้อมูลข่าวสาร และเทคโนโลยี 5. ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และนาโนเทคโนโลยี ยุคสมัย 1. สังคมแห่งการล่า 2. สังคมเกษตรกรรม 3. สังคมอุตสาหกรรม 4. สังคมข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยี 5. สังคมนาโนเทคโนโลยี

  8. อิทธิพลด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจแบบดั้งเดิม (old economy) สู่เศรษฐกิจใหม่ (new economy or digital economy) ระบบการค้าแบบปกป้อง (protectionism)สู่ระบบการค้าเสรี (free trade) ตลาดผูกขาด (monopoly)สู่ตลาดที่มีการแข่งขัน (competition) ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งพาตลาดในประเทศ (domestic or stand-alone) สู่โลกาภิวัฒน์ (globalization or network)

  9. เวทีเศรษฐกิจโลก WTO ระดับโลก ASEAN, APEC, ASEM, GMS ระดับภูมิภาค FTA, CEP, CER - ขอบเขตแตกต่างกัน ระดับทวิภาคี

  10. Trade and Investment Policy Policy Direction One World One Trading System 1st Best WTO China USA India Extending ASEAN Asean AFTA/AEC 2nd Best Japan Korea EU Aus/NZ Think ASEAN First China USA 3rd Best Thailand FTA India Australia Japan NZ 2020 Year X

  11. India: Look East ความเคลื่อนไหวเชิงกลยุทธ์ของประเทศคู่ค้าสำคัญในภูมิภาค China:Go West Japan: Global Sourcing

  12. การลงทุนโดยตรง (FDI) ของโลก

  13. ระบบทุนสากลกับเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาระบบทุนสากลกับเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนา

  14. US Japan East Asia-10 Euro Area Rest of the World Global Economic Network China, Hong Kong, India, Indonesia, Korea, Malaysia, Philippines, Singapore, Taiwan, Thailand

  15. World Economy in 2007 (ที่มา: IMF)

  16. วิกฤตเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน...ต้นตอของปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจโลกในปัจจุบัน...ต้นตอของปัญหา

  17. สัดส่วนสินเชื่อต่อเงินฝาก Loan/Deposit Ratio % อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ (ที่มา: IMF, January 2009)

  18. มูลค่าการส่งออกและสัดส่วนการส่งออกของไทยมูลค่าการส่งออกและสัดส่วนการส่งออกของไทย ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  19. มูลค่าการส่งออกและสัดส่วนการส่งออกของไทยมูลค่าการส่งออกและสัดส่วนการส่งออกของไทย ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  20. ตลาดส่งออกที่สำคัญของไทย (สัดส่วน 80% ของตลาดทั้งหมด)

  21. เศรษฐกิจของคู่ค้าที่สำคัญของไทยเศรษฐกิจของคู่ค้าที่สำคัญของไทย

  22. เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

  23. การค้าระหว่างไทยกับอาเซียน (หน่วย: ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ)

  24. การค้าระหว่างไทยกับอาเซียน (หน่วย: ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ)

  25. การค้าระหว่างไทยกับอาเซียน (หน่วย: ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ)

  26. การค้าระหว่างไทยกับอาเซียน (หน่วย: ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ)

  27. การค้าระหว่างไทยกับอาเซียน (หน่วย: ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ)

  28. การค้าระหว่างไทยกับอาเซียน (หน่วย: ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ)

  29. การค้าระหว่างไทยกับอาเซียน (หน่วย: ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ)

  30. การค้าระหว่างไทยกับอาเซียน (หน่วย: ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ)

  31. การค้าระหว่างไทยกับอาเซียน (หน่วย: ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ)

  32. อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจอาเซียนอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจอาเซียน ที่มา: IMF

  33. ภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2552 เศรษฐกิจไทยจะเริ่มปรับตัวดีขึ้นในช่วงปลายปี ในมุมมองภาคเอกชน เศรษฐกิจไทย ในปี 2552มีโอกาสขยายตัวประมาณ-1% ถึง – 4.0% (โอกาสที่เศรษฐกิจจะขยายตัวติดลบมากขึ้นมีโอกาสเกิดขึ้นได้ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ทางการเมืองของไทยและเศรษฐกิจโลก) การส่งออกขยายตัวประมาณ – 5.0% ถึง -20.0% อัตราเงินเฟ้อจะอยู่ในระดับ -2.0% ถึง 0.0%

More Related