1 / 37

การสุขาภิบาลอาหาร

การสุขาภิบาลอาหาร. อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ. แนวคิดการศึกษา. 1. การสุขาภิบาลอาหาร หมายถึง การจัดการและควบคุมเพื่อให้อาหาร สะอาดปลอดภัยจากเชื้อโรค พยาธิ และสารเคมีเป็นพิษต่าง ๆ 2. ปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่ทำให้อาหารสกปรก ได้แก่ อาหาร บุคคล ภาชนะอุปกรณ์ สถานที่ปรุงประกอบและจำหน่าย

turi
Download Presentation

การสุขาภิบาลอาหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสุขาภิบาลอาหาร อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ

  2. แนวคิดการศึกษา 1. การสุขาภิบาลอาหาร หมายถึง การจัดการและควบคุมเพื่อให้อาหาร สะอาดปลอดภัยจากเชื้อโรค พยาธิ และสารเคมีเป็นพิษต่าง ๆ 2. ปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่ทำให้อาหารสกปรก ได้แก่ อาหาร บุคคล ภาชนะอุปกรณ์ สถานที่ปรุงประกอบและจำหน่าย อาหาร สัตว์และแมลงนำโรค

  3. แนวคิดการศึกษา 3.โรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ ได้แก่เชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส ปาราสิต พิษของแบคทีเรีย พิษของเชื้อรา พิษของพืช และ สัตว์ตามธรรมชาติ พิษของสารเคมี 4. การจัดการและควบคุมอาหารให้สดทำได้โดยการจัดการและ ควบคุม ปัจจัยที่เป็นสาเหตุให้อาหารสกปรก

  4. แนวคิดการศึกษา 5. การเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร สามารกระทำได้ 3 ทาง 5.1 การเฝ้าระวังทางเคมี 5.2 การเฝ้าระวังทางกายภาพ 5.3 การเฝ้าระวังทางชีวภาพ 6. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสุขาภิบาลอาหาร

  5. ขั้นตอนการทำให้อาหารสกปรกขั้นตอนการทำให้อาหารสกปรก

  6. ความหมาย การสุขาภิบาลอาหาร หมายถึง การจัดการควบคุมอาหารให้สะอาดปลอดภัย จากเชื้อโรค พยาธิและสารพิษต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย สุขภาพอนามัยและการดำเนินชีวิตของผู้บริโภค

  7. ปัจจัยที่ทำให้อาหารสกปรกปัจจัยที่ทำให้อาหารสกปรก 1. บุคคล (ผู้สัมผัสอาหาร) 2. ภาชนะอุปกรณ์ 3. อาหาร 4. สถานที่ปรุง ประกอบ และจำหน่ายอาหาร 5. สัตว์และแมลงนำโรค

  8. ปัจจัยที่ทำให้อาหารสกปรกปัจจัยที่ทำให้อาหารสกปรก

  9. การจัดการและควบคุมปัจจัยที่ทำให้อาหารสกปรกการจัดการและควบคุมปัจจัยที่ทำให้อาหารสกปรก 1. การให้ความรู้แก่ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และผู้บริโภคเกี่ยว กับการสุขาภิบาลอาหารที่ถูกต้อง 2. การใช้มาตรการทางกฎหมาย

  10. บทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องบทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง 1. เจ้าหน้าที่ เป็นบุคลากรที่มีหน้าที่ในการจัดการอบรม ควบคุม ตรวจแนะนำผู้ผลิต 2. ผู้ผลิต-ผู้จำหน่ายอาหาร ต้องเลือกประกอบ ปรุงอาหารที่มีความสะอาดปลอดภัย 3. ผู้บริโภค ควรใฝ่หาความรู้ สามารถคุ้มครองตนเองได้

  11. โรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ 1. เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial Infection) 2. เกิดจากเชื้อไวรัส (Viral Infection) 3. เกิดจากปาราสิต (Parasite Infection) 4. เกิดจากพิษของแบคทีเรีย (Bacterial Intoxication)

  12. โรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ 5. เกิดจากพิษของเชื้อรา (Mycotoxin) 6. เกิดจากพิษของพืชและสัตว์ตามธรรมชาติ (Poisonous Plants and Animals) 7. เกิดจากพิษของสารเคมี (Chemical Poisons)

  13. การจัดการและควบคุมอาหารให้สะอาดการจัดการและควบคุมอาหารให้สะอาด

  14. การจัดการและควบคุมบุคคลการจัดการและควบคุมบุคคล

  15. การจัดการและควบคุมอุปกรณ์การจัดการและควบคุมอุปกรณ์

  16. การจัดการและควบคุมอุปกรณ์การจัดการและควบคุมอุปกรณ์

  17. การจัดการและควบคุมอาหารการจัดการและควบคุมอาหาร

  18. การจัดการและควบคุมสถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย

  19. การจัดการและควบคุมสถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่าย

  20. การจัดการและควบคุมแมลงและสัตว์นำโรคการจัดการและควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค

  21. การเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหารการเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร กระบวนการติดตาม สังเกตและพินิจพิจารณาลักษณะการเกิดและการกระจายของโรคจากน้ำและอาหารเป็นสื่อต่างๆ การปนเปื้อนของอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ และสภาพทางสุขาภิบาลอาหารของสถานประกอบการด้านอาหาร อย่างมีระบบ

  22. การเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหารการเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร การเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหารประกอบด้วยขั้นตอนการรวบรวม เรียบเรียง วิเคราะห์ แปลผล และการกระจายข้อมูลเพื่อนำไปสู่การดำเนินการควบคุมป้องกันที่มีประสิทธิภาพ

  23. ประเภทของการเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหารประเภทของการเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร 1. Active Surveilance 2. Passive Surveilance 3. Sentinel Surveilance

  24. วิธีการเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหารวิธีการเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร 1. การเฝ้าระวังทางกายภาพ 2. การเฝ้าระวังทางเคมี 3. การเฝ้าระวังทางชีวภาพ

  25. ดัชนีชี้วัดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ทางสุขาภิบาลอาหารดัชนีชี้วัดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ทางสุขาภิบาลอาหาร 1. วิธี Standard Plate Count (SPC) 2. วิธี Tolal Coliform MPN 3. วิธี Fecal Coliform MPN - หลักการทำงานของชุดทดสอบ SI-2

  26. ดัชนีชี้วัดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ทางสุขาภิบาลอาหารดัชนีชี้วัดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ทางสุขาภิบาลอาหาร หลักการทำงานของชุดทดสอบ SI-2

  27. อุปกรณ์การตรวจ ชุดทดสอบ SI-2

  28. ขั้นตอนการตรวจ

  29. ขั้นตอนการตรวจ

  30. ขั้นตอนการตรวจ

  31. ขั้นตอนการตรวจ

  32. การอ่านผล

  33. การตรวจภาคสนาม

  34. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสุขาภิบาลอาหารกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสุขาภิบาลอาหาร 1. พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 2. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ 2522 3. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522

  35. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสุขาภิบาลอาหารกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสุขาภิบาลอาหาร 4. พระราชบัญญัติรักษาความสะอาด และความ เป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง 2535 5. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2535 6. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

  36. สุขาภิบาลอาหารของประเทศจีนสุขาภิบาลอาหารของประเทศจีน

  37. สุขาภิบาลอาหารของประเทศจีนสุขาภิบาลอาหารของประเทศจีน

More Related