1 / 20

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

กพร. กรมส่งเสริมการเกษตร. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. Public Sector Management Quality Award. กรมส่งเสริมการเกษตร. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552. เอกสารบรรยายในการประชุมสำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี วันที่ 20 มีนาคม 2552. เหตุผลที่มา.

Download Presentation

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กพร. กรมส่งเสริมการเกษตร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ Public Sector Management Quality Award กรมส่งเสริมการเกษตร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เอกสารบรรยายในการประชุมสำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี วันที่ 20 มีนาคม 2552

  2. เหตุผลที่มา • มติ คณะรัฐมนตรี เมื่อ 28 มิถุนายน พ.ศ.2548 ใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาองค์กร • พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 • แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.2551-2555 • คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2552 • ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  3. วงจรการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวงจรการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ “ประเมินตนเอง ปรับปรุงพัฒนาด้วยตนเอง”

  4. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเชื่อมโยงกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเชื่อมโยงกับ พรฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 เกิดประโยชน์สุขของประชาชนมาตรา 7 - 8 ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐมาตรา 9 - 19 มีประสิทธิภาพและเกิดความ คุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐมาตรา 20 - 26 ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจำเป็นมาตรา 27 - 32 ประชาชนได้รับความสะดวก ตอบสนองความต้องการมาตรา 37 - 44 ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์มาตรา 33 - 36 ประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอมาตรา 45 - 49 ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2.การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (มาตรา 6,8,9,12,13,16) 5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (มาตรา 10,11,27,47) 1.การนำองค์กร (มาตรา 8,9,12,16,18, 20,23,27,28,43,44,46) 7.ผลลัพธ์การดำเนินการ (มาตรา 9,12,16,18,45) 3.การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (มาตรา 8,30,31,38-42,45) 6.การจัดการกระบวนการ (มาตรา 10,20,27,28,29,31) 4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (มาตรา 11,39)

  5. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเชื่อมโยงกับเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเชื่อมโยงกับ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.2551-2555 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เป้าประสงค์ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐสามารถพัฒนาขีดสมรรถนะและมีความพร้อมในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐในการปรับปรุงและยกระดับคุณภาพการบริหารงานตามแผนพัฒนาองค์การ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยเฉลี่ย

  6. คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวชี้วัดที่ 14 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ (PMQA)น้ำหนักร้อยละ 20 14.1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ น้ำหนักร้อยละ 12 14.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมาย ความสำเร็จของผลลัพธ์ในการดำเนินการของส่วนราชการ ตาม เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) น้ำหนักร้อยละ 4 14.3 ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 น้ำหนักร้อยละ 4

  7. สาระสำคัญ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPublic Sector Management Quality Award ลักษณะสำคัญขององค์กรสภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 1. การนำ องค์กร นำองค์กร ปฏิบัติการ 3.การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ ผลลัพธ์ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ พื้นฐานของระบบ

  8. สาระสำคัญ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPublic Sector Management Quality Award ลักษณะสำคัญขององค์กร (Organizational Profile : OP)เป็นการอธิบายถึงภาพรวมในปัจจุบันของส่วนราชการ สภาพแวดล้อมในการปฏิบัติภารกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานกับผู้รับบริการ ส่วนราชการอื่น และประชาชน โดยรวมสิ่งสำคัญที่มีผลต่อการดำเนินการและความท้าทายที่สำคัญในเชิงยุทธศาสตร์ที่ส่วนราชการเผชิญอยู่ รวมถึงระบบ การปรับปรุงผลการดำเนินการของส่วนราชการ หมวด 1 การนำองค์กร (Leadership: LD) เป็นการตรวจประเมินว่า ผู้บริหารของส่วนราชการดำเนินการอย่างไรในเรื่อง วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้นและระยะยาว ค่านิยม และความคาดหวัง ในผลการดำเนินการ รวมถึงการให้ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกระจายอำนาจตัดสินใจ การสร้างนวัตกรรมและการเรียนรู้ การมีระบบการกำกับ องค์กรที่ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชนอย่างไร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Planning : SP) เป็นการตรวจประเมิน วิธีการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หลัก และแผนปฏิบัติการ รวมทั้งการถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ การวัดผลความ ก้าวหน้าและวิธีการที่ส่วนราชการปรับเปลี่ยนเมื่อมีสถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Customer and Stakeholders Focus : CS) เป็นการ ตรวจประเมินว่าส่วนราชการกำหนดความต้องการ ความคาดหวัง และความนิยมชมชอบของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียอย่างไร รวมถึงมีการดำเนินการอย่างไรในการสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การ กำหนดปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้มีความพึงพอใจ และนำไปสู่การกล่าวถึงส่วนราชการในทางที่ดี

  9. สาระสำคัญ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPublic Sector Management Quality Award หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (Information and Analysis : IT) เป็นการตรวจประเมินว่า ส่วน ราชการเลือกรวบรวม วิเคราะห์ จัดการและปรับปรุงข้อมูล สารสนเทศ และจัดการความรู้อย่างไร หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (Human Resource Focus : HR)เป็นการตรวจประเมินว่า ระบบงาน และระบบการ เรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ ช่วยให้บุคลากรพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ เพื่อให้มุ่งไปในแนวทาง เดียวกันกับเป้าประสงค์และแผนปฏิบัติการโดยรวมของส่วนราชการอย่างไร รวมทั้งตรวจประเมินความใส่ใจการสร้างและ รักษาสภาพแวดล้อมในการทำงาน สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งจะนำไปสู่ผลการดำเนินการที่ เป็นเลิศ และความเจริญก้าวหน้าของบุคลากรและส่วนราชการ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (Process Management : PM) เป็นการตรวจประเมิน การจัดการกระบวนการ การ ให้บริการ และกระบวนการอื่นที่สำคัญที่ช่วยสร้างคุณค่าแก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และการบรรลุพันธกิจของ ส่วนราชการ ตลอดจนกระบวนการสนับสนุนที่สำคัญต่างๆ หมวด 7ผลลัพธ์การดำเนินการ (Results Management : RM) เป็นการตรวจประเมิน ผลการดำเนินการและแนวโน้มของ ส่วนราชการในมิติต่างๆ โดยอาศัยหลักการประเมินผลแบบสมดุล (Balance Scorecard) ได้แก่ มิติด้านประสิทธิผล มิติด้าน คุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และมิติด้านการพัฒนาองค์กร

  10. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน ( 7 หมวด 52 ประเด็น )

  11. หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม LD 1 LD 5 - กำหนดทิศทางองค์กร - สื่อสารเพื่อถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ นโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดี LD 6 ระบบควบคุมภายใน / บริหารความเสี่ยง LD 2 เพิ่มอำนาจในการตัดสินใจ LD 7 การจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม LD 3 การเรียนรู้ ความร่วมมือ สร้างแรงจูงใจ LD 4 • - ตัวชี้วัดที่สำคัญ • ระบบติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน • การทบทวน / ปรับปรุงการดำเนินงาน รายละเอียดตามเอกสารแนบ

  12. หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์ 2.1 การสื่อสารและถ่ายทอดยุทธ์ศาสตร์ เพื่อนำไปปฏิบัติ 2.1 การวางยุทธศาสตร์ SP 1 SP 4 การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4ปี ,1ปี - สื่อสารสร้างความเข้าใจ - การนำแผนสู่การปฏิบัติ SP 2 • นำปัจจัยที่สำคัญมาใช้ประกอบ การ วิเคราะห์ วางแผนยุทธศาสตร์ • การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ SP 5 การถ่ายทอดเป้าหมายและตัวชี้วัดระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล SP 3 แผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล SP 6 จัดทำรายะเอียดโครงการ(ระยะเวลา/ ผู้รับผิดชอบ/ทรัพยากร) SP 7 แผนบริหารความเสี่ยง รายละเอียดตามเอกสารแนบ

  13. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 การสร้างความสัมพันธ์กับ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS1 CS 6 CS7 CS2 CS8 CS3 CS9 CS4 CS10 CS5 รายละเอียดตามเอกสารแนบ

  14. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการ ปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้ IT 1 IT 2 ฐานข้อมูลผลการดำเนินการ ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนกระบวนการที่สร้างคุณค่า IT 3 ฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนกระบวนการ สนับสนุน IT 4 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประชาชนเข้าถึงได้ IT 5 ระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย IT 6 ระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐาน ข้อมูลและสารสนเทศ IT 7 การจัดการความรู้ รายละเอียดตามเอกสารแนบ

  15. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 การสร้างบรรยากาศการทำงาน ความผาสุก และความพึงพอใจแก่บุคลากร เพื่อก่อให้เกิด ความผูกพันต่อองค์กร 5.2 การพัฒนาบุคลากรและภาวะผู้นำ HR 1 HR 3 กำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจของบุคลากร แผนกลยุทธ์การบริหารจัดการทรัพยากร บุคคล HR 2 HR 4 ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากร • ระบบประกันคุณภาพการฝึกอบรม • การประเมินประสิทธิผลและความคุ้มค่า HR 5 การสร้างความก้าวหน้าให้บุคลากร รายละเอียดตามเอกสารแนบ

  16. หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 6.1 การออกแบบกระบวนการ 6.2 การจัดการและปรับปรุงกระบวนการ PM1 PM5 กำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน PM2 PM6 จัดทำข้อกำหนดที่สำคัญ ปรับปรุงกระบวนการ PM3 ออกแบบกระบวนการ PM4 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉินและผลกระทบ รายละเอียดตามเอกสารแนบ

  17. หมวด 7ผลลัพธ์การดำเนินการ RM1 RM2 RM3 RM7 RM8 RM4 RM5 RM9 RM6 RM10 รายละเอียดตามเอกสารแนบ

  18. PMQAเกี่ยวข้องกับกอง/สำนักPMQAเกี่ยวข้องกับกอง/สำนัก 1.เป็นบทบาท ภารกิจหรืองานตามปกติ 2.เป็นคำรับรองฯและตัวชี้วัดปี 2552 ของกอง/สำนัก 3.เป็นคณะทำงาน PMQA รับผิดชอบคำรับรองฯปี 2552 ของกรม 4.เป็นผู้รับผิดชอบประเด็น(ตามรหัส) ในหมวดต่างๆที่กำหนด - เจ้าภาพดำเนินการ - ผู้ร่วมดำเนินการ

  19. Q & A

  20. สวัสดี กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร Public Sector Devenlopment Group E - mail : psdd@ doae.go.th02 - 9406023 02 - 9406074

More Related