1 / 65

การอนุรักษ์และการเปลี่ยนแปลง (CONSERVATION AND CHANGES)

1. การอนุรักษ์และการเปลี่ยนแปลง (CONSERVATION AND CHANGES). +. Hydrogen + Chlorine Hydrogen chloride atom atom molecule. H (g) + Cl (g) HCl (g). 2. ปฏิกิริยาเคมี (CHEMICAL REACTIONS). สมการเคมี (Chemical Equation). 16. +.

tyra
Download Presentation

การอนุรักษ์และการเปลี่ยนแปลง (CONSERVATION AND CHANGES)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1 การอนุรักษ์และการเปลี่ยนแปลง (CONSERVATION AND CHANGES)

  2. + Hydrogen + Chlorine Hydrogen chloride atom atom molecule H(g) + Cl(g) HCl(g) 2 ปฏิกิริยาเคมี (CHEMICAL REACTIONS) สมการเคมี (Chemical Equation)

  3. 16 + 8 3 16 + 16 3 16 8 Sulfur molecules Hydrogen sulfide molecules + Water molecules + Sulfur dioxide molecules 16 H2S (g) + 8 SO2(g) 3 S8 + 16 H2O 3 Balanced equation

  4. Cu (s) + 2 Ag+(aq) Cu2+(aq) + 2 Ag(s) 4 สมการเคมีต้องดุลเพื่อให้เป็นไปตาม กฎการอนุรักษ์จำนวนอะตอม กฎการอนุรักษ์จำนวนประจุ

  5. C2H6 + O2 CO2 + H2O 2 C2H6 + 7 O2 4 CO2 + 6 H2O 5 การดุลสมการโดยวิธีตรวจพินิจ การเผาไหม้อีเทน (C2H6) ในอากาศ จะเกิดคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ 7/2 2 3

  6. 6 การดุลสมการโดยวิธีครึ่งปฏิกิริยา 1. เขียนสมการที่ยังไม่ดุลของปฏิกิริยาในรูปไอออนิก 2. แยกสมการออกเป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยา 3. ดุลจำนวนอะตอมอื่นๆ นอกจาก H, O ในแต่ละ ครึ่งปฏิกิริยา 4. ดุลจำนวนอะตอมของ H, O

  7. 7 ในสารละลายกรด ข้างใดขาด O ให้เติม H2O จำนวนโมลของ H2O= จำนวนอะตอมของ O ที่ขาด ข้างใดขาด H ให้เติม H+ จำนวนโมลของ H+ = จำนวนอะตอมของ H ที่ขาด

  8. 8 5. ดุลประจุโดยเติม e- ในแต่ละครึ่งปฏิกิริยา 6. ทำจำนวน e- ของครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองให้เท่ากัน 7. รวมครึ่งปฏิกิริยาทั้งสอง สมการรวมต้องไม่มี e- 8. ถ้าปฏิกิริยาเกิดในสารละลายเบส เติม OH-ทั้ง 2 ข้าง เพื่อสะเทิน H+ 9. ตรวจสอบว่าจำนวนอะตอมและประจุทั้งสองข้าง ของสมการเท่ากัน

  9. Fe2+ + Cr2O72- Fe3+ + Cr 3+ Fe2+ Fe3+ Cr2O72- Cr3+ 9 ปฏิกิริยาออกซิเดชันของ Fe2+ไปเป็น Fe3+ โดย ไดโครเมตไอออน (Cr2O72-) ในสารละลายกรด ขั้นที่ 1 เขียนสมการที่ยังไม่ดุลของปฏิกิริยาในรูปไอออนิก ขั้นที่ 2 แยกสมการออกเป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยา ออกซิเดชัน : รีดักชัน :

  10. Fe2+ Fe3+ Fe2+ Fe3+ Cr2O72- Cr3+ Cr2O72-2 Cr3+ 10 ขั้นที่ 3 ดุลจำนวนอะตอม (นอกจาก H, O) 2 ขั้นที่ 4 ดุลจำนวนอะตอมของ H, O โดยเติม H2O เพื่อดุล O และ เติม H+เพื่อดุล H + 14 H+ + 7 H2O

  11. Fe2+ Fe3+ Cr2O72- + 14 H+2 Cr3+ + 7 H2O 6 6 Fe2+ Fe3+ + e- 6 Cr2O72- + 6e- + 14H+ 2Cr3+ + 7H2O 11 ขั้นที่ 5 ดุลประจุโดยเติม e- + e- + 6e- ขั้นที่ 6 ทำจำนวน e- ของครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองให้เท่ากัน

  12. 6 Fe3++ Cr2O72- + 14H+ 6Fe2+ +2Cr3+ + 7H2O 6 6 Fe2+ Fe3+ + e- 6 Cr2O72- + 6e- + 14H+ 2Cr3+ + 7H2O 12 ขั้นที่ 7 รวมครึ่งปฏิกิริยาทั้งสอง เป็น balanced equation ในสารละลายกรด ถ้าปฏิกิริยาเกิดในสารละลายเบส เติม OH- ทั้งสองข้าง เพื่อสะเทิน H+ ขั้นที่ 8 ตรวจสอบว่าจำนวนอะตอมและประจุทั้งสองข้าง ของสมการเท่ากัน

  13. เติม OH- ทั้งสองข้างเพื่อสะเทิน H+ MnO4- + I - MnO2 + I2 ออกซิเดชัน: I - I2 รีดักชัน: MnO4- MnO2 6I - + 2MnO4- + 8H+ 3I2+ 2MnO2 + 4H2O 6I - + 2MnO4- + 8H+ 3I2+ 2MnO2 + 4H2O 6I- + 2MnO4- + 4H2O 3I2+ 2MnO2 + 8OH- 6I- + 2MnO4- + 8H++ 8OH- 3I2+ 2MnO2 + 4H2O + 8OH- 13 ปฏิกิริยาออกซิเดชัน I- โดย MnO4-ในสารละลายเบส ไปเป็น I2และ MnO2 ขั้นที่ 1เขียนสมการที่ยังไม่ดุลของปฏิกิริยาในรูปไอออนิก ขั้นที่ 8 ตรวจสอบว่าจำนวนอะตอมและประจุทั้งสองข้าง ของสมการเท่ากัน ขั้นที่ 4 ดุลจำนวนอะตอมของ H, O โดยเติม H2O เพื่อดุล O และ เติม H+เพื่อดุล H ขั้นที่ 6 ทำจำนวน e- ของครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองให้เท่ากัน ขั้นที่ 2 แยกสมการออกเป็น 2 ครึ่งปฏิกิริยา ขั้นที่ 3 ดุลจำนวนอะตอม (นอกจาก H, O) ขั้นที่ 5ดุลประจุโดยเติม e- ขั้นที่ 7 รวมครึ่งปฏิกิริยาทั้งสอง 3( ) 2 + 2e- 2( ) + 4H+ + 3e- + 2H2O

  14. C3H8(g) + 5O2(g) 3CO2(g) + 4H2O (l) propane A + B AB C(S) + O2(g) CO2(g) N2(g) + 3H2(g) 2NH3(g) CaO(s) + H2O(l) Ca(OH)2(s) 14 Some Common Chemical Reactions 1. Combustion 2. Combination reactions

  15. 3. Decompositon reactions AB A + B 2KClO3(s) 2KCl(s) + 3O2(g) CaCO3(S) CaO(S) + CO2(g) 4. Single displacement reactions A + BX AX + B Fe(s) + 2HCl(aq) FeCl2(aq) + H2(g) Zn(s) + CuSO4(aq) ZnSO4(aq) + Cu(s) 2Na(s) + 2H2O(l)2NaOH(aq) + H2(g) Some Common Chemical Reactions 15

  16. AX + BY AY + BX BaBr2(aq) + K2SO4(aq) 2KBr(aq) + BaSO4(S) Ca(OH)2(aq) + 2HCl(aq) CaCl2(aq) + 2H2O(l) HCl(aq) + NaOH(aq) NaCl(aq) + H2O(l) acid base salt water 16 Some Common Chemical Reactions 5. Double displacement (metathesis) reactions 5.1 Acid - base (neutralization) reactions

  17. 2KI(aq) + Pb(NO3)2(aq) PbI2(s) + 2KNO3(aq) CuCl2(aq) + 2NaOH(aq) Cu(OH)2(S) + 2NaCl(aq) HCl(aq) + AgNO3(aq) AgCl(S) + HNO3(aq) 17 Some Common Chemical Reactions 5.2 Precipitation reactions

  18. 18 ความหมายของโมลและการวัดปริมาณเชิงเคมี โมล (Mole) เป็นหน่วยในการนับจำนวนทางเคมี สาร 1 โมล มี6.0225x 1023อนุภาค เลขอาโวกาโดร มวลของสาร 1 โมล = น้ำหนักตามสูตร (กรัม) (Molar mass) (Formula weight)

  19. Particles of A Moles of A Grams of A 19 MOLE AND CHEMICAL CALCULATIONS Particles of B Avogadro’s no. Avogadro’s no. Formula subscript Moles of B* Formula weight Atomic weight Grams of B * B is element within compound A

  20. 20 สูตรเคมี (Chemical Formulas) N2O4 N2O41 โมเลกุล มี N 2อะตอม O 4อะตอม N2O46.02x1023โมเลกุล มี N 2x6.02x1023อะตอม O 4x6.02x1023 อะตอม N2O41 โมล มี N 2โมล O 4โมล

  21. 2 FeI2 + 3 Cl2 2 FeCl3 + 2 I2 21 สมการเคมี โมล : 2 3 2 2 มวล (g): 2x309.65 3x71.0 2x162.35 2x253.8 โมเลกุล : 2x6.02x1023 3x6.02x1023 2x6.02x1023 2x6.02x1023 2 3 2 2

  22. 22 เลขนัยสำคัญ (Significant Figures) ปริมาณที่ได้จากการวัดจะมีความไม่แน่นอนอยู่เสมอ การรายงานปริมาณที่ได้จากการวัด จะรายงานด้วย ตัวเลขที่แน่นอน & ตัวเลขตัวสุดท้าย 1ตัวที่ไม่แน่นอน ตัวเลขทั้งหมดนี้ เรียกว่า เลขนัยสำคัญ

  23. 23 เลขนัยสำคัญ 1. เลขที่ไม่ใช่ 0 ทั้งหมด เป็นเลขนัยสำคัญ เลขนัยสำคัญ 3 ตัว 457 cm. 2.5 g เลขนัยสำคัญ 2 ตัว 2. เลข 0 ระหว่างเลขอื่น เป็นเลขนัยสำคัญ เลขนัยสำคัญ 4 ตัว 1005 kg เลขนัยสำคัญ 3 ตัว 1.03 cm

  24. 24 3. เลข 0 ด้านซ้ายของเลขอื่นตัวแรก ไม่เป็นเลขนัยสำคัญ เลขนัยสำคัญ 1 ตัว 0.02 g 0.0026 cm เลขนัยสำคัญ 2 ตัว 4. เลข 0 ท้ายเลขอื่นและเลข 0 ด้านขวาของจุด ทศนิยม เป็นเลขนัยสำคัญ 0.0200 g เลขนัยสำคัญ 3 ตัว เลขนัยสำคัญ 2 ตัว 3.0 cm

  25. 25 5. เมื่อจำนวนเลขลงท้ายด้วย 0 ซึ่งไม่ได้อยู่ทางขวา ของจุดทศนิยม 0 ไม่จำเป็นต้องเป็นเลขนัยสำคัญ เลขนัยสำคัญ 2 หรือ 3 ตัว 130 cm 10,300 g เลขนัยสำคัญ 3, 4 หรือ 5 ตัว เลขนัยสำคัญ3ตัว 1.03 x 104 g เลขนัยสำคัญ4ตัว 1.030 x 104 g เลขนัยสำคัญ5ตัว 1.0300 x 104 g Scientific Notation

  26. 26 การบวกและการลบ ผลลัพธ์จะมีจำนวนตำแหน่งทศนิยมเท่ากับผล การทดลองที่มีจำนวนตำแหน่งทศนิยมน้อยที่สุด เช่น 20.4 + 1.322 + 83 = 104.722 = 105 ถ้าการคำนวณมี 2 ขั้นตอนขึ้นไป ผลลัพธ์ของทุกขั้นให้เก็บ ตัวเลขไว้เกินเลขนัยสำคัญ 1 ตัว เมื่อถึงคำตอบสุดท้ายจึง ทอนเป็นค่าโดยประมาณที่มีจำนวนเลขนัยสำคัญเป็นไป ตามเกณฑ์

  27. จำนวนเลขนัยสำคัญของผลลัพธ์ต้องไม่มากกว่าจำนวนเลขนัยสำคัญของผลการทดลองที่มีจำนวนเลขนัยสำคัญน้อยที่สุดจำนวนเลขนัยสำคัญของผลลัพธ์ต้องไม่มากกว่าจำนวนเลขนัยสำคัญของผลการทดลองที่มีจำนวนเลขนัยสำคัญน้อยที่สุด 27 การคูณและการหาร เช่น 6.221 x 5.2 = 32.3492 = 32

  28. x 6.02 x 1023aspirin molecules 1 mol aspirin 180 g C6H12O6 x 1 mol C6H12O6 28 ตัวอย่าง 1จงคำนวณจำนวนโมเลกุลของ aspirin 0.23 mol Aspirin molecules = 0.23 mol aspirin = 1.4 x 1023 molecules ตัวอย่าง 2จงคำนวณมวล (g) ของกลูโคส (C6H12O6) 0.34 mol Mass C6H12O6 = 0.34 mol C6H12O6 = 61g C6H12O6

  29. 6.02x1023molecules C6H8O6 x x 1 mol C6H8O6 1 mol C6H8O6 176 g C6H8O6 29 ตัวอย่าง 3จงคำนวณจำนวนโมเลกุลของวิตามินซี (C6H8O6) ในวิตามินซี 1 เม็ด (250mg) C6H8O6 molecules = 0.250 g C6H8O6 = 8.55 x 1023 molecules

  30. 30 การคำนวณปริมาณสารในสมการเคมี 1. เขียนสมการเคมีที่ถูกต้อง พร้อมทั้งดุล 2. เปลี่ยนปริมาณสารที่กำหนดให้ไปเป็นโมล 3. ใช้สัมประสิทธิ์ในสมการที่ดุลแล้ว คำนวณ จำนวนโมลของสารที่ต้องการหาปริมาณ 4. ใช้จำนวนโมลที่คำนวณได้ &molar mass เปลี่ยน ปริมาณที่ต้องการหาให้มีหน่วยตามต้องการ

  31. 2 Li(s) + 2 H2O(l) 2 LiOH(aq) + H2(g) 1 mol Li x 6.941 g Li 1 mol H2 x 2 mol Li 31 ตัวอย่าง โลหะแอลคาไลทุกชนิดทำปฏิกิริยากับน้ำให้แก๊สไฮโดรเจนและไฮดรอกไซด์ของโลหะแอลคาไลนั้น เช่น ปฏิกิริยาของ Li กับน้ำ: จะเกิด H2 กี่กรัม ถ้า Li 80.57g ทำปฏิกิริยากับน้ำอย่างสมบูรณ์ โมลของ Li = 80.57 g Li = 11.61 mol Li ขั้นที่ 3 ใช้สัมประสิทธิ์ในสมการที่ดุลแล้วคำนวณจำนวนโมลของสารที่ต้องการหาปริมาณ โมลของ H2ที่เกิดขึ้น = 11.61 mol Li = 5.805 mol H2

  32. 2.016 g H2 x 1 mol H2 32 โมลของ H2ที่เกิดขึ้น = 5.805 mol H2 ขั้นที่ 4 ใช้จำนวนโมลที่คำนวณได้ และ molar mass เปลี่ยนปริมาณที่ต้องการหาให้มีหน่วยตามต้องการ มวลของ H2 ที่เกิดขึ้น = 5.805 mol H2 = 11.70 g H2

  33. ตัวอย่าง กลูโคส (C6H12O6) จะแตกสลายในร่างกายให้ CO2และน้ำ และให้พลังงานแก่ร่างกาย C6H12O6 + 6 O2 6 CO2 + 6 H2O ถ้าบริโภค C6H12O2 856 g จะเกิด CO2กี่กรัม 6 molCO2 1 mol C6H12O6 x 1 mol C6H12O6 180.2 g C6H12O6 x 44.01gCO2 1 mol CO2 x 33 ขั้นที่ 2 เปลี่ยนปริมาณสารที่กำหนดให้ไปเป็นโมล ขั้นที่ 1 เขียนและดุลสมการเคมี มวลของ CO2ที่เกิดขึ้น = 856g C6H12O6 = 1.25 x 103 g CO2 ขั้นที่ 3 ใช้สัมประสิทธิ์ในสมการที่ดุลแล้วคำนวณจำนวน โมลของสารที่ต้องการหาปริมาณ ขั้นที่ 4 ใช้จำนวนโมลที่คำนวณได้ & molar mass เปลี่ยน ปริมาณที่ต้องการหา ให้มีหน่วยตามต้องการ

  34. Fe(s) + S (l) FeS(s) 1molFe 55.85 gFe 1molS 32.07 gS x x 1molS 1 mol Fe x 34 ตัวอย่างที่อุณหภูมิสูง ซัลเฟอร์จะรวมกับเหล็กเกิด FeS สีน้ำตาลดำ: ถ้าทำการทดลองโดยใช้ Fe 7.62 g ทำปฏิกิริยากับ S 8.67 g (ก) สารตั้งต้นชนิดใดเป็นสารจำกัดปริมาณ (limiting reagent) (ข) จงคำนวณมวลของ FeS ที่เกิดขึ้น (ค) เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยามีสารที่มากเกินพอกี่กรัม (ก) โมลของ Fe = 7.62 gFe = 0.136 molFe โมลของ S = 8.67 gFe = 0.270 molS 0.136 molFe = 0.136 molS ดังนั้น Fe เป็นสารจำกัดปริมาณ S เป็นสารที่มากเกินพอ

  35. ตัวอย่าง(ต่อ) ที่อุณหภูมิสูง ซัลเฟอร์จะรวมกับเหล็กเกิด FeS สีน้ำตาลดำ: Fe(s) + S (l) FeS(s) ถ้าทำการทดลองโดยใช้ Fe 7.62 g ทำปฏิกิริยากับ S 8.67 g (ก) สารตั้งต้นชนิดใดเป็นสารจำกัดปริมาณ (limiting reagent) (ข) จงคำนวณมวลของ FeS ที่เกิดขึ้น (ค) เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยามีสารที่มากเกินพอกี่กรัม 87.92 gFeS 1 molFeS x 1molFeS 1 mol Fe x 32.07gS 1molS x 35 (ข) มวลของ FeS ที่เกิดขึ้น = 0.136molFe = 12.0 gFeS (ค) มวลของ S ที่เหลือ = (0.270 - 0.136) molS = 4.30 gS

  36. 2 NH3(g) + CO2(g) (NH2)2CO(aq) + H2O (l) 1molCO2 44.01gCO2 1molCO2 2molNH3 1molNH3 17.03gNH3 x x x 36 ตัวอย่างยูเรีย [(NH2)2CO] ใช้ทำปุ๋ยและอาหารสัตว์ และใช้ใน อุตสาหกรรมพอลิเมอร์ เตรียมได้จากปฏิกิริยา : ถ้าใช้ NH3 637.2 g ทำปฏิกิริยากับ CO2 1142 g (ก) สารตั้งต้นชนิดใดเป็นสารจำกัดปริมาณ (limiting reagent) (ก) โมลของ NH3 = 637.2gNH3 = 37.42 molNH3 โมลของ CO2 = 1142gCO2 = 25.95 molCO2 37.42 molNH3 = 18.71 molCO2 ดังนั้น NH3เป็นสารจำกัดปริมาณ และ CO2เป็นสารที่มากเกินพอ

  37. ตัวอย่าง (ต่อ)ยูเรีย [(NH2)2CO] ใช้ทำปุ๋ยและอาหารสัตว์ และใช้ในอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ เตรียมได้จากปฏิกิริยา : 2 NH3(g) + CO2(g) (NH2)2CO(aq) + H2O (l) ถ้าใช้ NH3 637.2 g ทำปฏิกิริยากับ CO2 1142 g 60.06 g(NH2)2CO 1 mol (NH2)2CO x 1mol(NH2)2CO 2 molNH3 x 37 (ข) จงคำนวณมวลของยูเรียที่เกิดขึ้น (ข) มวลของยูเรียที่เกิดขึ้น = 37.42 molNH3 = 1124 g (NH2)2CO

  38. ตัวอย่าง(ต่อ) ยูเรีย [(NH2)2CO] ใช้ทำปุ๋ยและอาหารสัตว์ และใช้ในอุตสาหกรรมพอลิเมอร์ เตรียมได้จากปฏิกิริยา : 2 NH3(g) + CO2(g) (NH2)2CO(aq) + H2O (l) ถ้าใช้ NH3 637.2 g ทำปฏิกิริยากับ CO2 1142 g (ค) เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยามีสารที่มากเกินพอ (excess reagent) เหลือกี่กรัม 44.01 gCO2 1 molCO2 x 38 (ค) มวลของ CO2ที่เหลือ = (25.95 - 18.71) molCO2 = 319 g CO2

  39. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น: Ag+(aq) + Cl-(aq) AgCl(s) 1mol AgCl 1mol Cl x x 143.33g AgCl 1 mol AgCl 35.45g Cl x 1 mol Cl 39 การหาสูตรเคมีจากผลการวิเคราะห์โดยน้ำหนัก ( Gravimetric Analysis ) ตัวอย่าง นำ europium chloride 0.8546 g ละลายในน้ำ เติมสารละลาย AgNO3จนตกตะกอนสมบูรณ์ กรองตะกอน AgCl ทำให้แห้งชั่งน้ำหนักตะกอนได้ 1.0910 g จงหาสูตรเคมีของ europium chloride 1.0910 g AgCl = 7.613x10-3mol Cl = 0.2770 g Cl

  40. 1mol Cl 151.96 g Eu x 7.613x10-3mol Cl 3.800x10-3mol Eu 2.003mol Cl 1mol Eu = 40 ตัวอย่าง (ต่อ)นำ europium chloride 0.8546 g ละลายในน้ำ เติมสารละลาย AgNO3จนตกตะกอนสมบูรณ์ กรองตะกอน AgCl ทำให้แห้งชั่งน้ำหนักตะกอนได้ 1.0910 g จงหาสูตร เคมีของ europium chloride Europium chloride 0.8546g มี Cl 7.613x10-3mol = 0.2770g และ Eu = (0.8546 - 0.2770) g Eu = 3.800x10-3mol Eu สูตรเคมีของ europium chloride คือ EuCl2

  41. การวิเคราะห์โดยปริมาตร (Volumetric Analysis) ตัวอย่าง ในการหาปริมาณ Cl-ในน้ำประปาโดยการไทเทรต ด้วยAgNO3 : Ag+(aq) + Cl-(aq) AgCl(s) 1L AgNO3soln 1000mLAgNO3soln x 0.1000molAgNO3 1LAgNO3soln 1molCl- 1molAgNO3 x x 35.45 g Cl- 1 mol Ci - x 1000mL 1L 7.161x10-2gCl - 10 mL x = 41 ถ้านำตัวอย่าง 10.0 mL ทำปฏิกิริยาพอดีกับ 0.1000M AgNO3 20.20mL จงคำนวณปริมาณ Cl- ในน้ำประปาเป็นกรัม/ ลิตร 20.20 mLAgNO3soln = 2.020 x 10-3molAgNO3 ปริมาณ Cl-ในน้ำประปา = 7.161g/L

  42. M + nY MYn 42 การหาสูตรเคมีโดยวิธีการผสมสาร Job’s method นำสารละลายไอออนของโลหะ M และสารละลายของ ลิแกนด์ Y ที่ทราบความเข้มข้นแน่นอน ผสมกันด้วย อัตราส่วนต่างๆ กัน โดยให้ผลรวมของความเข้มข้นของ M และ Y ในสารละลายผสมก่อนเกิดปฏิกิริยามีค่าคงที่ ([M]t + [Y])t = C นำไปวัด [MYn]

  43. [Myn] [Y]t [M]t [Y]t [M]t = n = n [M] t [Y] t = c - [M] t M + nY [MYn ] mol Y n mol M 1 = 43 เมื่อ M และ Y ทำปฏิกิริยากันพอดี : เมื่อสารละลายมีปริมาตรเท่ากัน :

  44. ml 0.1F AgNO3(aq) ml 0.1F KCN(aq) AgCN(s) Amount of precipitate No precipitate remains at ratio exceeding 6.7/3.3 = 2/1 Tube number Ag+(aq) + CN- (aq) AgCN(s) AgCN(s) + CN-(aq) Ag(CN)2-(aq) 44

  45. 45 กฎการอนุรักษ์พลังงาน (Law of Conservation of Energy) Albert Einsteinเสนอสมการของไอน์สไตน์ : DE= c2 Dm DE = การเปลี่ยนแปลงพลังงาน (เอิร์ก) Dm = การเปลี่ยนแปลงมวล (g) c = ความเร็วแสง = 3.00 x 1010 cm sec-1 กฎการอนุรักษ์พลังงาน : ปริมาณทั้งหมดของสสารและพลังงานในจักรวาลมีค่าคงที่

  46. เกิดขึ้นไม่ได้ เกิดขึ้นได้จริง ไม่อาจเกิดขึ้นได้ การทำนายการเกิดขึ้นเอง (spontaneity) 46 เอนทัลปีและการเปลี่ยนแปลง (Enthalpy and Change) การเปลี่ยนแปลงที่ไม่เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์ การเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปตามกฎการอนุรักษ์

  47. 47 การทำนายการเกิดขึ้นเอง (spontaneity) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเอง (spontaneous change) จะต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงประเภท คายความร้อน (exothermic) การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน (endothermic) เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นเองไม่ได้ (nonspontaneous change)

  48. 48 ปริมาณความร้อนที่ระบบดูดกลืนหรือคายออกเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ T คงที่ เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงเอนทัลปี (DH) DH = Hproduct - Hreactant การเปลี่ยนแปลงประเภทดูดความร้อน Hp > Hr ; DH = + การเปลี่ยนแปลงประเภทคายความร้อน Hp< Hr ; DH = -

  49. 2 Br(g) Br2(l) H2(g) + Cl2(g) 2HCl(g) 49 การประมาณค่า (เครื่องหมาย) ของ DH การสร้างพันธะ คาย ความร้อน การสลายพันธะ ดูด ความร้อน DH = - (ระบบร้อนขึ้น) พันธะระหว่างอะตอมต่างชนิดกันแข็งแรงกว่า พันธะระหว่างอะตอมชนิดเดียวกัน DH = -

  50. 50 การวัดค่า DH DH = CDT C = ความจุความร้อน (heat capacity) = ปริมาณความร้อนที่ทำให้สารมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 J(0C)-1 หรือ JK-1 ความจุความร้อนต่อโมล (molar heat capacity) JK-1 mol-1 DH = qp = msDT s = ความร้อนจำเพาะ (specific gravity) = ปริมาณความร้อนที่ทำให้สาร 1 g มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 J K-1 g-1 หรือ J(0C)-1 g-1

More Related