1 / 30

การขับเคลื่อนคุณภาพ การจัดการศึกษามัธยมศึกษา

การขับเคลื่อนคุณภาพ การจัดการศึกษามัธยมศึกษา. สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หลักการและแนวทาง. แผนยุทธศาสตร์การยกระดับคุณภาพการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีงบประมาณ 2552 – 2555. วัตถุประสงค์. ขยาย โอกาสให้ผู้เรียนและส่งเสริมความเท่าเทียมในการ ได้รับการศึกษา

tyrone-bean
Download Presentation

การขับเคลื่อนคุณภาพ การจัดการศึกษามัธยมศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษาการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษามัธยมศึกษา สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  2. หลักการและแนวทาง แผนยุทธศาสตร์การยกระดับคุณภาพการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปีงบประมาณ 2552 – 2555

  3. วัตถุประสงค์ • ขยายโอกาสให้ผู้เรียนและส่งเสริมความเท่าเทียมในการได้รับการศึกษา • ยกระดับคุณภาพมาตรฐานของสถานศึกษา และส่งเสริมให้สถานศึกษาที่มีความพร้อมได้พัฒนาสู่มาตรฐานสากล • พัฒนาคุณภาพนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้สูงขึ้น • ส่งเสริมการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วม และเพิ่มพูนพัฒนาประสิทธิภาพการบริหาร

  4. เป้าหมาย โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 2,352 โรง

  5. วาระสำคัญ ปี 2552 เป้าหมายความสำเร็จและเกณฑ์คุณภาพ การพัฒนาคุณภาพการศึกษามัธยมศึกษา ของกลุ่มจังหวัด และจังหวัด

  6. เป้าหมายความสำเร็จ • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลัก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ภายในปี 2554 • ผ่านการรับรองมาตรฐานการเมินคุณภาพภายนอก และมีผลการประเมินระดับดี/ดีมาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 • จัดทำและใช้หลักสูตรที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน • การพัฒนาครู และมีผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 10

  7. เป้าหมายความสำเร็จ (ต่อ) • จัดระบบดูแลนักเรียนที่เสริมสร้างพัฒนาการของผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ • การพัฒนาให้มีมาตรฐานคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสังคมเพิ่มมากขึ้น • ความพร้อมด้านอาคารสถานที่ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ สื่อเทคโนโลยี สอดคล้องกับแผนการจัดชั้นเรียน • มีครูเพียงพอ อัตราส่วนครู : นักเรียน เป็นไปตามเกณฑ์ มีครูครบทุกกลุ่มสาระและเพียงพอตามแผนการจัดชั้นเรียน 9. อัตราส่วนนักเรียนต่อคอมพิวเตอร์ 20 : 1

  8. วาระสำคัญปี 2552 (ต่อ) มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ.2552 ครอบคลุมการบริหาร 4 ด้าน ขอบข่ายงาน 8 ภาระงาน

  9. วาระสำคัญปี 2553 โครงการตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง สาขาการศึกษา (Stimulus Package II - SP2)

  10. ประเด็นจุดเน้น การเพิ่มประสิทธิภาพสถานศึกษา และการพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐาน 500 โรง มัธยม 381 โรง ประถม 119 2500 โรง มัธยม 1,178 โรง ประถม 1,322 โรง 7,000 โรง มัธยม 130 โรง ประถม 6,870 โรง

  11. โครงการที่ สมป รับผิดชอบ • โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล กลุ่มเป้าหมาย 1) โรงเรียนมัธยมศึกษา 381 โรง 2) โรงเรียนประถมศึกษา 119 โรง • โครงการพัฒนาประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคอาเซียน (Education Hub) โครงการดังกล่าวจะดำเนินการต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2553- 2555

  12. การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ โรงเรียนมาตรฐานสากล (WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL) สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย

  13. วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพเป็นพลโลก 2. ยกระดับการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล 3. ยกระดับการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ

  14. กิจกรรมหลักในการดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากลกิจกรรมหลักในการดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

  15. กิจกรรมหลักในการดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากลกิจกรรมหลักในการดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

  16. กิจกรรมหลักในการดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากลกิจกรรมหลักในการดำเนินงานโครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล

  17. กลไกหลักในการขับเคลื่อนคุณภาพโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลกลไกหลักในการขับเคลื่อนคุณภาพโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล • สร้างความเข้าใจ และความตระหนัก • ประสาน สพฐ. สพท. และ ศน.ม. • ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินงาน • สรรหาโรงเรียนต้นแบบ • กำกับ ติดตาม และประเมินผล • รายงานผลการดำเนินงาน ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ ศกม.

  18. กลไกหลักในการขับเคลื่อนคุณภาพโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากลกลไกหลักในการขับเคลื่อนคุณภาพโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล 2. จัดทำแผนกลยุทธ์และจัดทำพันธะสัญญา • นิเทศ ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาคุณภาพโรงเรียน 3. ประสานความร่วมมือ เพิ่มประสิทธิภาพ การดำเนินงาน 4. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ศน.ม. 6. พัฒนาครูและบุคลากร 5. สรรหาโรงเรียนต้นแบบ 8. นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล 7. วิจัยและพัฒนาแบบมีส่วนร่วม

  19. บทบาทของสถานศึกษา • สร้างความตระหนักและชี้แจงแนวทางพัฒนา • โรงเรียนมาตรฐานสากลให้แก่ ครู บุคลากร และผู้เกี่ยวข้อง 2.ทบทวน ปรับแผนกลยุทธ์และ แผนปฏิบัติการให้สอดคล้อง กับแนวทางการพัฒนาคุณภาพ โรงเรียนมาตรฐานสากล

  20. บทบาทของสถานศึกษา 3. พัฒนาครู และบุคลากรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่เพื่อยกระดับคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล 4. พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา กระบวนการเรียน การสอน การวัดผลประเมินผล ตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนมาตรฐานสากล

  21. บทบาทของสถานศึกษา 5.พัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ห้องสมุด และแหล่งเรียนรู้ 6. แสวงหาภาคีเครือข่าย และ จัดกิจกรรมการพัฒนา กับโรงเรียนร่วมพัฒนา (Partner Schools) ทั้งภายในและต่างประเทศ 7. วิจัยและพัฒนาหลักสูตร และรูปแบบการสอน 8. นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล รายงาน ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่

  22. การสนับสนุนจาก สพฐ.(ประสานการดำเนินการโดย สมป.) 1. ปรับปรุงกฎระเบียบให้เอื้อต่อการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล 2. พัฒนาผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ครูและบุคลากร 3. สนับสนุน การคัดสรรและจัดหาสื่อ เอกสาร ตำราเรียนที่มีคุณภาพระดับสากล 4. ส่งเสริมการตั้งภาคีเครือข่ายและ การประสานงานโรงเรียนร่วมพัฒนาทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ

  23. การสนับสนุนจาก สพฐ.(ประสานการดำเนินการโดย สมป.) 5. วิจัยและพัฒนา 6. สรรหาโรงเรียนต้นแบบ 7. นิเทศ กำกับ ติดตามประเมินผล ประชาสัมพันธ์ และรายงาน 8. สัมมนานำเสนอผลงานระดับชาติเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ยกย่องเชิดชูเกียรติ (National Symposium)

  24. ภาระงานที่ สมป. จะดำเนินการต่อไป.........เพื่อขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา • ประสาน ติดตามการจัดตั้ง ศกม. และการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรดำเนินงาน • กำหนดและขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการมาตรฐานสากลและ Education Hub ให้เป็นวาระสำคัญที่จะดำเนินการต่อเนื่อง 3 ปี (2553-2555)

  25. ภาระงานที่ สมป. จะดำเนินการต่อไป.........เพื่อขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา • ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานและการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาทั่วประเทศ โดยกำหนดตัวบ่งชี้ตามประเด็นดังนี้ • เป้าหมายความสำเร็จและเกณฑ์คุณภาพการพัฒนาคุณภาพการศึกษามัธยมศึกษาของกลุ่มจังหวัดและจังหวัด (9 ข้อ) • ตัวชี้วัดความสำเร็จตามแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล • ด้านการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล • ด้านการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ • ด้านปัจจัยพื้นฐาน • ด้านเครือข่ายร่วมพัฒนา • ขอบข่ายการบริหารงานโรงเรียน 4 ภารกิจหลัก

  26. ภาระงานที่ สมป. จะดำเนินการต่อไป.........เพื่อขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษา • ดำเนินการด้านข้อมูล สารสนเทศ และการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดโดยใช้เทคนิค School Mapping

  27. การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดโดยใช้เทคนิค School Mapping (โดย อ. ไตรรงค์ มณีสุธรรม)

  28. ขั้นตอนการปฏิบัติ

  29. การเตรียมการของศกม.ในการอบรมการเตรียมการของศกม.ในการอบรม 1. จัดเจ้าหน้าที่ ศกม.ละ 3-5 คน (ตามจำนวนจังหวัดที่รับผิดชอบ) ผู้เข้ารับการอบรมควรจะมีทักษะด้านการวิเคราะห์ การวางแผน สารสนเทศ และทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ • 2. จัดเตรียมข้อมูล • - จำนวนนักเรียน ป. 1 – ป. 6 รวมทุกสังกัด รายชั้น รายปี • ปีการศึกษา 2549 – 2553 • - จำนวนนักเรียน ม.1 ในพื้นที่แยกรายสังกัด ปีการศึกษา 2549 – 2553 • - จำนวนนักเรียน ม.1 – ม.3 รวมทุกสังกัด รายชั้น รายปี • ปีการศึกษา 2549 – 2553 • จำนวนนักเรียน ม.4 ในพื้นที่แยกรายสังกัดทั้งสายสามัญศึกษาและ • อาชีวศึกษา ปีการศึกษา 2549 – 2553 • - จำนวนนักเรียน ม.1 – ม.6 สังกัด สพฐ. รายชั้น รายปี • ปีการศึกษา 2549 – 2553

  30. การเตรียมการของศกม.ในการอบรม (ต่อ) 3. การจัดเตรียมอุปกรณ์ 3.1 Notebook ศกม.ละ 1 - 2 เครื่อง (ในการอบรมจะใช้โปรแกรมในการคาดคะเนจำนวนนักเรียน) 3.2 เครื่องคิดเลขคนละหนึ่งเครื่อง 3.3 ข้อมูลที่ต้องนำมาในการอบรม

More Related