1 / 18

๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น

๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น ๒. มีผู้ลักลอบผลิตยาเสพติด เพราะสารตั้งต้นในการผลิตยาบ้าหาได้ง่าย ๓. มีการแพร่ระบาดของยาบ้าอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าเชื้อโรค ๔. ยาบ้ามีทุกตรอกซอกซอย แม้กระทั่งในโรงเรียน หรือในวัด

uma-weber
Download Presentation

๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ๑. ขอให้รัฐบาลและคนไทยทั้งชาติร่วมกันแก้ไขปัญหายาเสพติดที่มีความรุนแรงมากขึ้น ๒. มีผู้ลักลอบผลิตยาเสพติด เพราะสารตั้งต้นในการผลิตยาบ้าหาได้ง่าย ๓. มีการแพร่ระบาดของยาบ้าอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าเชื้อโรค ๔. ยาบ้ามีทุกตรอกซอกซอย แม้กระทั่งในโรงเรียน หรือในวัด ๕. ผู้ผลิตยาเสพติด และผู้ขายกำลังทำตนเป็นฆาตกร ฆ่าลูกหลานไทยอย่างเลือดเย็น ๖. ครอบครัวปล่อยให้ลูกหลานติดยา โดยไม่พาไปรักษา ต้องให้เวลา ให้กำลังใจในการฟื้นฟูลูกหลานที่ติดยา จากพระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถฯ พระราชทานแก่คณะบุคคลที่เข้าเฝ้าถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ ศาลาดุสิตดาลัย พระตำหนักจิตลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เมื่อวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔

  2. ๑. กำหนดเป็น “วาระแห่งชาติ” ๒. ยึดหลักนิติธรรมในการปราบปราม โดยบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ๓. ยึดหลักเมตตาธรรม ผู้เสพคือผู้ป่วยต้องได้รับการบำบัดรักษา พร้อมทั้งมีกลไกติดตามช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ ๔. ควบคุมและสกัดกั้นยาเสพติด สารเคมี และสารตั้งต้นในการผลิตยาเสพติด ๕. ป้องกันกลุ่มเสี่ยงไม่ให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ๖. บริหารจัดการอย่างบูรณาการ นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลที่ดำเนินการในปีแรก

  3. แนวทางการดำเนินงานแก้ไขปัญหาผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด 1. ยึดหลักเมตตาธรรม นำผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการบำบัดฟื้นฟู โดยมีเป้าหมาย 400,000 คน 2.มีศูนย์บำบัดฟื้นฟูทุกอำเภอ/เขต 928 แห่ง 3. มีทีมสหวิชาชีพบำบัดฟื้นฟูประจำอำเภอ 4. มีการติดตาม ดูแลช่วยเหลือหลังผ่านการบำบัดโดย อสม. และตำรวจ 5. วิธีการ ผู้เสพ บำบัดโดยค่ายพลังแผ่นดิน (ค่ายบำบัดในชุมชน) ทุกอำเภอ ผู้ติด บำบัดในสถานบำบัดของกระทรวงสาธารณสุข ค่ายวิวัฒน์พลเมือง กระทรวงกลาโหม สถานบำบัดของ สตช. /กทม. ศูนย์บำบัดฟื้นฟู กรมคุมประพฤติ

  4. กระบวนการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติดกระบวนการบำบัดฟื้นฟูผู้เสพผู้ติดยาเสพติด : ประชาคม การค้นหา : สมัครใจกึ่งบังคับ (จูงใจ) หมู่บ้าน / ชุมชน ผู้เสพ / ผู้ติดยาเสพติด สมัครใจ บังคับบำบัด ต้องโทษ การคัดกรอง เรือนจำ / สถานพินิจ ผู้ติด ผู้เสพ FAST Model / TC ( 4 เดือน ) ผู้ป่วยนอก : Matrix ( 4 เดือน :สธ.) ผู้ป่วยใน : FAST Model ( 4 เดือน :สธ.) ค่ายพลังแผ่นดินในชุมชน (≥9 วัน) ตรวจพิสูจน์ วินิจฉัย ควบคุมตัว ไม่ควบคุมตัว เข้มงวด : กห., ยธ. ไม่เข้มงวด : กห., มท.,สธ. โปรแกรม สนง.คุมประพฤติ (รายงานตัว) ผู้ป่วยนอก : Matrix (4 เดือน :สธ.) : ไม่เสพซ้ำ คุณภาพชีวิต : มีอาชีพ/การ ศึกษา ติดตาม : อสม. / ตำรวจ (12 เดือน) : ฟื้นฟูต่อเนื่อง : ติดตาม ≥ 4 ครั้ง • ฝึกอาชีพ • จัดหางาน • การศึกษา กลับสู่ชุมชน

  5. ตัวชี้วัดด้านผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดตัวชี้วัดด้านผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด 1. 1 อำเภอ มี 1 ศูนย์ฟื้นฟู / ค่ายพลังแผ่นดิน 2. นำผู้เสพ / ผู้ติดเข้าบำบัดทุกระบบ จำนวน 400,000 คน 3. ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติดอยู่ในอัตราส่วน 3 : 1,000 4. ผู้ผ่านการบำบัดฯ ไม่กลับไปเสพติดซ้ำ ไม่น้อยกว่า 80%

  6. ผลลัพธ์การดำเนินงานด้านบำบัดรักษา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด

  7. ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษาผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา ระหว่างวันที่ 11 ก.ย. 2554 – 29 ม.ค. 2555 ที่มา : ข้อมูลจากระบบรายงาน บสต. ยกเว้นค่ายพลังแผ่นดิน ระบบสมัครใจจากระบบรายงาน ศพส.

  8. ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา ระบบสมัครใจ ระหว่างวันที่ 11 ก.ย. 2554 – 29 ม.ค. 2555 ที่มา : - บำบัดในสถานบำบัด ข้อมูลจากระบบรายงาน บสต. - ค่ายพลังแผ่นดิน / บำบัดตามมาตรการ 315 จากระบบรายงาน ศพส.

  9. ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดฯ ภาพรวมทั้งประเทศ

  10. ผลการดำเนินงานด้านบำบัดฯ ระหว่างวันที่ 11 ก.ย. 2554 – 29 ม.ค. 2555 2. จำนวน1 อำเภอ 1 ศูนย์ฟื้นฟู /ค่ายบำบัดในชุมชน (เป้าหมาย 928 แห่ง) ดำเนินการแล้วจำนวน 854 แห่ง (ร้อยละ 92.03) 3. จำนวนวิทยากรทีมบำบัดประจำอำเภอ (เป้าหมาย 9,280 คน) ดำเนินการแล้ว 6,490 คน (ร้อยละ 91.49)

  11. ผลการดำเนินงานพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด(ระหว่างวันที่ 11 ก.ย 54- 25 ม.ค 55) ที่มา : ข้อมูลจาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพื้นที่ภาคใต้ ณ วันที่ ๒๔ ม.ค. ๕๕

  12. ผลการดำเนินงานพื้นที่ภาคใต้ 14 จังหวัด(ระหว่างวันที่ 11 ก.ย 54- 25 ม.ค 55) สัดส่วนผลการดำเนินงานจริงในการจัดทำค่ายพลังแผ่นดินฯ ของจังหวัด : การนำเข้าระบบรายงาน ศพส. = 3,191 : 1,216 คิดเป็น3:1 ที่มา : ข้อมูลจาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพื้นที่ภาคใต้ ณ วันที่ ๒๔ ม.ค. ๕๕

  13. ผลการดำเนินงานด้านการบำบัดรักษา ภาคใต้

  14. ข้อเสนอ 1. การนำผู้เสพเข้าสู่กระบวนการบำบัด โดยเน้นระบบสมัครใจ / สมัครใจกึ่งบังคับ(จูงใจ) เป็นลำดับแรก มท. : วิทยากรกระบวนการ การค้นหา มาตรการทางสังคม ตำรวจ : ชักชวน จูงใจ กดดันนำเข้าสู่ระบบสมัครใจกึ่งบังคับ 2. การนำเข้าข้อมูลที่ตรงกับการดำเนินงานจริง อย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง 3. การบูรณาการงบประมาณด้านการบำบัดฯ ให้ถือเป็นความสำคัญอันดับแรก

More Related