1 / 132

การสร้างเครื่องมือวัดผล ที่สอดคล้องกับภาระงาน

การสร้างเครื่องมือวัดผล ที่สอดคล้องกับภาระงาน. ผศ.ดร.ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏ หมู่บ้านจอมบึง ราชบุรี. องค์ประกอบการประเมินผล. การมีข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่จะประเมินผล(การวัดผล). การตัดสินคุณค่าตามเกณฑ์. การมีเกณฑ์ตัดสินคุณค่า. -อิงเกณฑ์ (Rational Criterion)

uma
Download Presentation

การสร้างเครื่องมือวัดผล ที่สอดคล้องกับภาระงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างเครื่องมือวัดผลการสร้างเครื่องมือวัดผล ที่สอดคล้องกับภาระงาน ผศ.ดร.ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏ หมู่บ้านจอมบึง ราชบุรี

  2. องค์ประกอบการประเมินผลองค์ประกอบการประเมินผล การมีข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งที่จะประเมินผล(การวัดผล) การตัดสินคุณค่าตามเกณฑ์ การมีเกณฑ์ตัดสินคุณค่า -อิงเกณฑ์ (Rational Criterion) -อิงกลุ่ม (Related Criterion) -อิงบุคคล (Individual Criterion)

  3. วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้/ประเมินผลตามแผน เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบภาระงาน ออกแบบหน่วยการเรียน โครงสร้างวิชา สาระท้องถิ่น คำอธิบายราย วิชา มฐ./ตช สาระแกนกลาง

  4. “ร” สุดวิสัย ได้ ๑ - ๔ ได้ “๐” ได้ “๑” แก้“ร” ผ่าน “ร” ไม่ใช่สุดวิสัย ได้ ๑ แก้ตัวได้อีก ๑ ครั้ง ได้ “ร” สอนซ่อมเสริม/สอบแก้ตัว ไม่แก้ “ร” ภายใน ๑ ภาคเรียน ไม่เข้าวัดผลปลายภาค ได้ “๐” ได้ “๑” ได้ “๐” ได้ “๑” สอนซ่อมเสริม/ สอบแก้ตัว สอบแก้ตัว ถ้าจะแก้ “๐” ยื่นคำร้อง เรียนซ้ำเพิ่มเติมเวลาเรียนครบ ได้ “๑-๔” ได้ “๐” ๖๐%<เวลาเรียน<๘๐% เวลาเรียน < ๖๐% ตัดสินผล การเรียน ได้ “มส” วัดผลปลายภาคเรียน แก้ “ร” เรียบร้อย อนุญาต ไม่อนุญาต ได้ “ร” ไม่แก้ “มส” ภายใน ภาคเรียนนั้น ไม่แก้ “ร” ภายในภาคเรียนนั้น ดุลยพินิจ ผู้บริหารสถานศึกษาเห็นชอบ มีเวลาเรียน ๘๐% มีเวลาเรียนไม่ถึง ๘๐% วัดผลระหว่างภาค ส่งงานไม่ครบ ไม่เข้าสอบกลางภาค เรียน เรียนซ้ำ เรียนซ้ำ แผนภาพที่ ๒.๕แสดงกระบวนการตัดสินและแก้ไขผลการเรียนระดับมัธยมศึกษา

  5. เปรียบเทียบการวัดและประเมินผลเปรียบเทียบการวัดและประเมินผล หลักสูตรฯ 51 หลักสูตรฯ 44 การวัดและ ประเมินผล ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ตามผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง เกณฑ์ การจบ สพฐ.กำหนดเกณฑ์แกนกลาง เป็นข้อกำหนดอย่างน้อย สถานศึกษา กำหนด

  6. โครงสร้างวิชาคณิตศาสตร์ ๑ ชั้น ม. 1 เวลา 90 ชั่วโมง คะแนน 100 คะแนน อัตราส่วน 70 : 30

  7. Authentic assessment Alternative assessment Performance assessment Culminating performance Performance-based learning

  8. ยุคของโลก ยุคของการเรียนรู้ Performance หมายถึง พฤติกรรม (Behavior) หรือ การแสดงออก (Action) ซึ่งเกี่ยวกับสิ่งที่กำลังปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

  9. Performance Assessmentหมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินคุณค่าบุคคล จาก พฤติกรรม และผลการปฏิบัติงานที่แสดงว่าได้บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กำหนด ยุคของโลก ยุคของการเรียนรู้

  10. Authentic Assessment ความงอกงาม ของผู้เรียน Culminating performance ประเมินการปฏิบัติจริงจากชิ้นงาน/การปฏิบัติงาน(Performance Assessment) อยู่บนพื้นฐานชีวิตจริง/บูรณาการ (Real life) ผู้เรียน สัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนการสอน(Procedure,Product,or both) การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ตามมาตรฐานหรือตัวชี้วัดชั้นปี เน้นการประเมินระหว่างเรียน(ประเมินตนเองเพื่อมุ่งพัฒนา/ปรับปรุงแก้ไข) การประเมินเพื่อสรุป

  11. การวิเคราห์ตัวชี้วัด ตาม ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom ระดับพฤติกรรม/ทักษะการคิด

  12. Taxonomy of Learning Specified, with Six Steps of Appropriation Benjamin Bloom (1913–99)

  13. ภูมิหลัง ในปีค.ศ. 1956 เบนจามินบลูมอาจารย์มหาวิทยาลัยชิคาโกได้นำเสนอ“Taxonomy of Educational Objectives”ที่ต่อมา ได้เป็นที่รู้จักกันดีทั่วไป Bloom ได้แยกระดับของจุดประสงค์การเรียนรู้ไว้ 6 ระดับ เพื่อให้มั่นใจได้ว่าการสอนนั้นกระตุ้นและพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียนซึ่งใช้กันต่อมานานกว่าสี่ทศวรรษ

  14. พฤติกรรมด้านสติปัญญาของมนุษย์พฤติกรรมด้านสติปัญญาของมนุษย์ Application(การนำไปใช้) Evaluation (การประเมินค่า) Synthesis(การสังเคราะห์) Analysis(การวิเคราะห์) Comprehension (ความเข้าใจ) Knowledge (ความรู้ ความจำ) Bloom’s Taxonomy,56

  15. พฤติกรรมด้านสติปัญญาของมนุษย์พฤติกรรมด้านสติปัญญาของมนุษย์ Application(นำไปใช้) Creation (สร้างสรรค์) Evaluation(ประเมินค่า) Analysis(วิเคราะห์) Understand (เข้าใจ) Remember (จำ) Bloom’s Taxonomy,90

  16. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน อีก 10% ได้จากการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ฟัง เกิดการเรียนรู้ 20% เกิดการเรียนรู้ 90% อ่าน+ฟัง+คิดวิเคราะห์ อภิปรายฝึกทักษะ พฤติกรรมการเรียนรู้ อ่าน+ฟัง เกิดการเรียนรู้ 50% อ่าน+ฟัง+คิด เกิดการเรียนรู้ 70%

  17. สมรรถภาพด้านการวัดผลประเมินผลสมรรถภาพด้านการวัดผลประเมินผล • มีความรู้เกี่ยวกับหลักสูตร • สร้างเครื่องมือวัดผลที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่หลักสูตรกำหนด • พัฒนาปรับปรุงเครื่องมือวัดผล • ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลได้ • นำผลการวัดไปใช้ได้ • ตัดสินผลให้ระดับผลการเรียนได้

  18. คิดนอกกรอบ ต่อยอดความคิด

  19. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ วิเคราะห์ผลที่เกิดกับผู้เรียน มฐ./ตัวชี้วัด กำหนดวิธีการ/เครื่องมือ/เนื้อหา สร้างเครื่องมือ/เกณฑ์ ตรวจสอบคุณภาพ นำไปใช้

  20. การสังเกต การสัมภาษณ์ เครื่องมือสำหรับภาระงาน การตรวจผลงาน การรายงานตนเอง 29

  21. การบันทึก แบบทดสอบ Authentic เครื่องมือสำหรับภาระงาน Portfolio Rubrics แบบทดสอบแบบเขียนตอบ 29

  22. 1. การสังเกต การสังเกต (Observation) • พฤติกรรมด้านการใช้ความคิด การปฏิบัติงาน อารมณ์ ความรู้สึก ลักษณะนิสัย • ทุกเวลา ทุกสถานที่ ใน-นอกห้องเรียน

  23. ลักษณะของ “การสังเกตโดยตั้งใจ” (แบบมีโครงสร้าง) 1. กำหนดพฤติกรรมที่ต้องสังเกต 2. กำหนดช่วงเวลาที่สังเกต 3. กำหนดวิธีการสังเกต ลักษณะของ “การสังเกตโดยไม่ตั้งใจ” (แบบไม่มีโครงสร้าง) 1. ไม่กำหนดพฤติกรรมที่สังเกต ล่วงหน้า 2. ช่วงเวลาที่สังเกต เป็นไปตามธรรมชาติ 3. ไม่กำหนดวิธีการสังเกตใช้การจดบันทึกเมื่อพบพฤติกรรม น่าสนใจ

  24. หลักเกณฑ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกตหลักเกณฑ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต 1. ควรใช้ทั้ง สอง วิธี 2. สังเกตหลายครั้ง หลายสถานการณ์ 3. ทำการจดบันทึกอย่างละเอียดทุกขั้นตอน 4. ประมาณ 2-3 สัปดาห์ควรสรุปข้อมูล

  25. เครื่องมือประกอบการสังเกตเครื่องมือประกอบการสังเกต • แบบตรวจสอบรายการ ( Checklist) • แบบจัดอันดับคุณภาพ( Rating Scale) • ตารางจดบันทึกข้อมูล (Data Gathering Schedule) • ระเบียนพฤติกรรม (Anecdotal Record) • การถ่ายภาพ การถ่ายวิดีทัศน์และการบันทึกเสียง

  26. แบบตรวจสอบขั้นตอนการทำความสะอาดห้องเรียนแบบตรวจสอบขั้นตอนการทำความสะอาดห้องเรียน ให้พิจารณาขั้นตอนการทำงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนดให้แล้วทำเครื่องหมาย(/) ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง คำชี้แจง รายการตรวจสอบ ทำ(1) ไม่ทำ(0) 1. ยกม้านั่งวางบนโต๊ะก่อน 2. กวาดเพดาน 3. กวาดพื้นห้อง 4. ถูพื้นด้วยผ้าเปียก 5. ถูพื้นด้วยผ้าแห้ง 6.ยกม้านั่งลงและจัดโต๊ะเป็นระเบียบ

  27. เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดี 0 - 2 3 - 4 5 - 6 เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป

  28. แบบตรวจสอบขั้นตอนการเขียนเรียงความแบบตรวจสอบขั้นตอนการเขียนเรียงความ ให้พิจารณาขั้นตอนการทำงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนดให้แล้วทำเครื่องหมาย(/) ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง คำชี้แจง รายการตรวจสอบ ทำ(1) ไม่ทำ(0) 1. ศีกษากรอบงานให้เข้าใจก่อน 2. วางเค้าโครงเรื่องก่อนเขียน 3. ลงมือเขียนตามโครงเรื่อง 4. ค้นคว้าระหว่างการเขียน 5. อ่านทบทวนปรับปรุง 6.จัดทำต้นฉบับที่สมบูรณ์

  29. แบบตรวจสอบรายการ คณิตศาสตร์ หน่วยที่... เรื่อง....... • จปส สร้างรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วเมื่อกำหนดความยาวฐานให้ 1 ด้านและ • มุมยอด 30 องศา. • คำชี้แจง ทำเครื่องหมาย/ ลงในช่องที่นักเรียนปฏิบัติถูกต้องตามรายการประเมิน • รายการที่ต้องการตรวจสอบ • เขียนส่วนของเส้นตรงมีความยาวตามที่กำหนดให้เป็นฐานของสามเหลี่ยมได้ถูกต้อง • สร้างมุม 75 องศา ที่จุดปลายข้างหนึ่งของฐานที่กำหนดให้ โดยสร้างมุม 15 องศา • และ 45 องศา จากมุม 30 องศา ที่กำหนดให้ • สร้างมุม 75 องศาที่ปลายอีกข้างหนึ่งที่กำหนดให้ ลากเส้นต่อปลายแขนมุม • ไปพบกับแขนของมุมแรก ที่จุดยอดของสามเหลี่ยม • 4. สามเหลี่ยมที่ได้เป็นสามเหลี่ยมหน้าจั่วที่มีมุมยอดเท่ากับ 30 องศา

  30. เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดีมาก 0 - 1 2 - 3 4 เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป

  31. แบบจัดอันดับคุณภาพ คณิตศาสตร์ หน่วยที่... เรื่อง....... • จปส สร้างรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วให้มีขนาดตามสิ่งที่กำหนดให้ได้ • การสังเกต : ให้คะแนนในช่องที่นักเรียนปฏิบัติในแต่ละรายการต่อไปนี้ เมื่อ • 3 = ผลการปฏิบัติดีมาก • 2 = ผลการปฏิบัติดี • 1 = ผลการปฏิบัติพอใช้ • 0 = ผลการปฏิบัติต้องปรับปรุง • รายการที่ต้องสังเกต • การใช้เครื่องมือในการสร้าง • ลำดับขั้นตอนการสร้าง • รูปที่สร้างมีความถูกต้องตามสิ่งที่กำหนด • รูปที่สร้างมีความสะอาดเรียบร้อย • ความรวดเร็วในการสร้าง

  32. เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 0 - 2 ต้องปรับปรุง ควรปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก 3 - 5 6 - 10 11 - 13 14 - 15 เกณฑ์การผ่าน ตั้งแต่ระดับคุณภาพดีขึ้นไป

  33. แบบจัดอันดับคุณภาพทักษะการเล่นบาสเกตบอลเบื้องต้นแบบจัดอันดับคุณภาพทักษะการเล่นบาสเกตบอลเบื้องต้น ให้พิจารณาการปฏิบัติงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนดให้แล้วทำเครื่องหมาย(/) ลงในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง คำชี้แจง ระดับคุณภาพ รายการประเมิน ดี (3) พอใช้(2) ปรับปรุง(1) 1.การทรงตัวจากการกระโดดกลับตัว 2. ความคล่องตัวการวิ่งซิกแซกอ้อมหลัก 3. ความเร็วจากการวิ่ง 50 เมตร 4. ความสัมพันธ์ของประสาทตากับกล้ามเนื้อ จากการรับส่งลูก 5. ความแม่นยำจากการยิงลูกบอลลงห่วง

  34. วิธีที่ 2“การสัมภาษณ์” (Interview) ข้อมูลที่สามารถใช้วิธีการ“การสัมภาษณ์” (Interview)1. ความคิด (สติปัญญา) ความรู้สึก 2. ขั้นตอนการทำงาน 3. วิธีการแก้ปัญหา ข้อบ่งใช้ ควรใช้ประกอบการสังเกต เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มั่นใจ

  35. ลักษณะสำคัญในการสัมภาษณ์ลักษณะสำคัญในการสัมภาษณ์ • มีวัตถุประสงค์ที่ชัดแจ้ง (Explicit purpose) • มีคำอธิบายที่ชัดเจน (Ethnographic explanations) • มีรูปแบบการตั้งคำถามที่เหมาะสม (Ethnographic questions)

  36. การเริ่มต้นสัมภาษณ์ 1. ก่อนสัมภาษณ์ : หาข้อมูลภูมิหลังนักเรียนก่อน เพื่อสัมภาษณ์ตรงประเด็น 2. ทักทาย : เรียบง่ายกลมกลืน อย่างเหมาะสม ใช้วาจา ท่าทาง น้ำเสียงอบอุ่นเป็นมิตร 3. คำถาม : เข้าใจง่าย

  37. รูปแบบการตั้งคำถามที่เหมาะสม (Ethnographic questions) 1. คำถามเชิงกว้าง เพื่อหาประเด็นเริ่มต้น (Descriptive questions) 2. คำถามเพื่อจับเค้าโครง ประเด็น (Structural questions) 3. คำถามเชิงลึกเพื่อหาคำตอบ.... 4. คำถามเชิงสมมติ(Hypothetical question) เหมาะสำหรับคำถามที่ถามตรงๆไม่ได้ เพราะ Sensitive เช่น หากคนในบ้านนักเรียน ถูกทำร้าย นักเรียนจะทำอย่างไร 5. คำถามจากประสบการณ์ (experiential question)

  38. การถามคำถาม • คำถาม • ทั่วไป (Descriptive) • จับประเด็น (Structural) • คำถามเพื่อความชัดเจน (Contrast, hypothetical, experiential) • ถามซ้ำ • ทวนคำพูด ความคิด ที่ผู้ให้สัมภาษณ์กล่าวถึง • แสดงความสนใจ ใส่ใจ • เป็นผู้ถูกถามบ้าง (Two ways) • หัดมองไม่เห็นบ้าง (expressing cultural ignorance) Source: (Spradley 1979: 67)

  39. เทคนิคการเป็นนักสัมภาษณ์ที่ดีเทคนิคการเป็นนักสัมภาษณ์ที่ดี • ธรรมชาติและจริงใจ มีทัศนคติของการเรียนรู้ (ทำความคุ้นเคยกับเครื่องมือ) • บุคลิกภาพ มั่นคง ไม่เหนือ ไม่ต่ำ ให้เกียรติ ยอมรับ เสียง ความเป็นมิตร • อย่าใช้เสียงแสดงอำนาจ • คำถามที่ควรใช้ให้บ่อย อะไร? อย่างไร? ทำไม? • ใจเย็น ไม่เร่งร้อนที่จะเอาคำตอบ หยุดบ้างก็ดี • หลีกเลี่ยงการขัดจังหวะ

  40. ตา 3. การตรวจผลงาน

More Related