1 / 1

Mahidolia mystacina distribution map

ปลาบู่มหิดล ( Mahidolia mystacina ). ศุภกฤต โสภิกุล, แสงเทียน อยู่เถา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ชื่อปลาเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก.

umika
Download Presentation

Mahidolia mystacina distribution map

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปลาบู่มหิดล (Mahidolia mystacina) ศุภกฤต โสภิกุล, แสงเทียน อยู่เถา คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ชื่อปลาเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ ของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในจำนวนนี้มีปลาบู่ที่เขาได้ให้ชื่อสกุลว่า Mahidoliaเพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติ และสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ซึ่งขณะนั้นทรงดำรงพระยศเป็น สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ ในการที่พระองค์ทรงสนพระทัย ทรงใคร่ติดตาม และเปี่ยมด้วยพระมหากรุณาธิคุณต่อการประมงของประเทศไทย พระองค์ได้พระราชทานทุนทรัพย์ส่วนพระองค์สำหรับคนไทย เพื่อที่จะได้มาทำงานด้านการประมงต่อจาก Dr. H.M. Smith โดยเฉพาะพันธุ์ปลา ประวัติ ในราวประมาณปี พ.ศ. 2469ซึ่งเป็นช่วงรัชสมัยรัชกาลที่ 6 ได้มีการจัดตั้งกรมรักษาสัตว์น้ำขึ้นในกระทรวงเกษตราธิการ Dr. Hugh McCormick Smith (ชาวอเมริกัน) ซึ่งได้เข้ามาปฏิบัติงานด้านการเพาะเลี้ยงและอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำในประเทศไทย ได้ดำรงตำแหน่งเจ้ากรมรักษาสัตว์น้ำเป็นคนแรก ผลงานในหน้าที่รับผิดชอบของ Dr. H.M. Smith ที่เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์น้ำของไทย โดยเฉพาะพันธุ์ปลา มีรวมกว่า 60 เรื่อง ได้ตั้งชื่อทางวิทยาศาสตร์สำหรับปลาที่ค้นพบใหม่รวม 67 ชนิด และเป็นสกุลใหม่รวม 21 สกุล ปลาบู่มหิดล ได้รับการคุ้มครองในลำดับที่ 49 ระบุว่า ปลาบู่มหิดลทุกชนิดในสกุล (Genus) Mahidoliaตามบัญชีท้ายประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื้นที่ที่ได้รับธรณีพิบัติ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต จังหวัดระนอง และจังหวัดสตูล พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งประกาศ ณ วันที่ ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๙ โดย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในขณะนั้น Mahidolia mystacina distribution map The distribution of Mahidolia mystacina on a satellite image produced from data held by FishBase from museum collections. History from FishBase :Area that founded Mahidolia mystacina. Scientific name Lat Lon Code Year Mahidolia mystacina -10.0 107.5 MNHN 0000-2967 - Mahidolia mystacina 12.6 101.4 CAS 53914 - Mahidolia mystacina .9 127.7 USNM 00269282 - Mahidolia mystacina 10.7 122.6 USNM 00139362 1908 Mahidolia mystacina 22.6 120.3 NTUM01723 1961 Mahidolia mystacina -13.5 48.0 MNHN 1965-0217 1963 Mahidolia mystacina 9.3 123.3 FB MAMYS_U0.JPG 1977 Mahidolia mystacina -9.6 147.1 USNM 00297237 1979 Mahidolia mystacina -3.5 143.0 USNM 00297197 1979 Mahidolia mystacina -2.1 130.1 USNM 00297234 1979 Mahidolia mystacina 23.6 119.6 ASIZP0057641 1992 Mahidolia mystacina -5.2 150.4 FISH 387165 1994 Mahidoria mystacina 20.8 107.1 ROM 70878 1997 Mahidolia mystacina -14.4 167.4 USNM 00362432 1997 Mahidolia mystacina 7.8 98.4 ROM 70831 1997 Area that founded Mahidolia mystacina in Thailand from historical data of FishBase. Acknowledgements This work is supported by project for set the Integrity Research Unit (IRU) at Faculty of Social Science and Humanities, Mahidol University, Salaya, Thailand. Reference 1. Froese, R. and D. Pauly. Editors (2006) - FishBase, World Wide Web electronic publication. www.fishbase.org, version (01/2006). Map generated on Sunday, October 1st, 2006, 8:45 pm. 2. http://www.practicalfishkeeping.co.uk/pfk/pages /map.php?species_id=1159735557#, (2009). Retrieved on 26 Feb 2009. 3.ทศพร วงศ์รัตน์.(2534). ปลาบู่มหิดล, วารสารการประมง, ปีที่ 44ฉบับที่ 4หน้า295-313. 4. ลือชัย ดรุณชู. (2536). การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาบู่มหิดลใน แม่น้ำจันทบุรี. กรมประมง. หน้า7-23. 5. ศุกฤต โสภิกุล. (2552). เอกสารประกอบการบรรยายการจัดตั้งเครือข่ายสหวิทยาการ แห่งราชบัณฑิตยสถาน ภาคตะวันออก(โครงการนำร่องการจัดทำเขตอนุรักษ์ปลาบู่ มหิดลในแหลมสิงห์). ราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร. True success is not in the learning But in its application to the benefit of mankind สนใจข้อมูลติดต่อ ศุภกฤต โสภิกุล shssk@mahidol.ac.th แสงเทียน อยู่เถา sssyt@staff2.mahidol.ac.th

More Related