1 / 38

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - นักศึกษา “อาชีวศึกษา”

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - นักศึกษา “อาชีวศึกษา”. โดย อาจารย์เลอพงษ์ วัชรมัย. ขอให้ท่านตอบ คำถามเหล่านี้. 1. สิ่งที่สถานศึกษาจะต้องมี คุณภาพด้านใด จึงจะทำให้กิจการ เจริญรุ่งเรืองมีชื่อเสียง. 2. พฤติกรรมนักเรียนอาชีวศึกษา ปัจจุบันมีความเสี่ยง

unity-ball
Download Presentation

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - นักศึกษา “อาชีวศึกษา”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - นักศึกษา“อาชีวศึกษา” โดย อาจารย์เลอพงษ์ วัชรมัย

  2. ขอให้ท่านตอบ คำถามเหล่านี้ 1. สิ่งที่สถานศึกษาจะต้องมี คุณภาพด้านใด จึงจะทำให้กิจการ เจริญรุ่งเรืองมีชื่อเสียง 2. พฤติกรรมนักเรียนอาชีวศึกษา ปัจจุบันมีความเสี่ยง • และเสื่อมเสียเกิดจากอะไร 3. ใครคือผู้แก้ไข พฤติกรรมผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

  3. ระบบหลักที่จะทำให้สถานศึกษาระบบหลักที่จะทำให้สถานศึกษา มีคุณภาพ – เกิดความเชื่อมั่น และศรัทธา ของนักศึกษา ผู้ปกครอง และผู้ใช้ผลผลิต ของ สถานศึกษา คือ 1. ระบบงานวิชาการ 2. ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษา 3. ระบบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ฯลฯ

  4. วัตถุประสงค์ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาเพื่อ - การพัฒนา - การส่งเสริม - การป้องกัน - การแก้ไข

  5. โครงสร้างการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - นักศึกษา คณะกรรมการอำนวยการ(ทีมนำ) คณะกรรมการประสานงาน (ทีมประสานงาน) คณะกรรมการดำเนินงาน(ทีมทำ) กรรมการ ระดับปวช.1 กรรมการ ระดับปวช.2 กรรมการ ระดับปวช.3 กรรมการ ระดับปวส.1 กรรมการ ระดับปวส.2

  6. บทบาท และหน้าที่ของ คณะกรรมการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - นักศึกษา

  7. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการอำนวยการ(ทีมนำ)บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการอำนวยการ(ทีมนำ) 1. ส่งเสริม สนับสนุน การขับเคลื่อนและผดุงรักษา 2. สร้างขวัญ กำลังใจ และพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ ทันเหตุการณ์ 3. เป็นผู้นำในการ ผนึกกำลังผสาน และบูรณาการ ภารกิจ โดยรวมของสถานศึกษา 4. ประชาสัมพันธ์ และสร้างความเข้มแข็งให้เครือข่าย 5. กำกับ ดูแล ติดตาม ประเมนผล

  8. กรรมการอำนวยการ (ทีมนำ) ประกอบด้วย 1. ผู้รับใบอนุญาต ประธาน 2. ผู้จัดการ กรรมการ 3. ผู้อำนวยการ กรรมการ 4. รองผู้อำนวยการ กรรมการ 5. หัวหน้าระดับทุกระดับ กรรมการ 6. ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ 7. ผู้แทนชุมชน กรรมการ 8. หัวหน้าฝ่ายกิจการนักศึกษา เลขานุการ

  9. บทบาทหน้าของคณะกรรมการประสานงาน(ทีมประสาน)บทบาทหน้าของคณะกรรมการประสานงาน(ทีมประสาน) 1. เป็นผู้ปฏิบัติงานในฐานะบุคลากรหลักของระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน นักศึกษา 2. เป็นผู้ประสานงานระหว่างคณะกรรมการอำนวยการ(ทีมนำ) และคณะกรรมการดำเนินการ(ทีมทำ) ตลอดจนเหน่วยงาน อื่นที่เกี่ยวข้อง 3. จัดทำเอกสาร เครื่องมือ ที่ใช้ดำเนินงาน 4. จัดประชุม เพื่อปรึกษาหารือ คณะกรรมการต่างๆเดือนละ ครั้ง 5. ทำรายงานสรุป ผลการดำเนินงาน

  10. คณะกรรมการประสานงาน(ทีมประสาน)คณะกรรมการประสานงาน(ทีมประสาน) • ประกอบด้วย • 1. รองผู้อำนวยการฝ่ายกิจการนักศึกษา ประธาน • 2. หัวหน้าระดับทุกระดับ กรรมการ • 3. หัวหน้าฝ่ายกิจการนักศึกษา กรรมการ • 4. หัวหน้างานพยาบาล กรรมการ • 5. หัวหน้างานแนะแนว กรรมการ • 6. ผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายกิจการ เลขานุการ

  11. บทบาทหน้าของคณะกรรมการดำเนินงาน(ทีมทำ) แยกเป็น 5 คณะตามชั้นปี 1. ประสานผู้เกี่ยวข้อง ประชุมชี้แจง สร้างความเข้าใจ กับคณะกรรมการดำเนินงานในระดับของตน 2. บันทึกหลักฐาน การปฏิบัติงานตามระบบ ประเมินผล และจัดทำรายงานตามระดับชั้น 3. ศึกษาข้อมูลความต้องการของอาจารย์ที่ปรึกษาและนักเรียน เพื่อประโยชน์ของระบบและการประสานกับทีมประสาน 4. จัดประชุม เพื่อปรึกษาหารือ คณะกรรมการต่างๆเดือนละ ครั้ง 5. ปฏิบัติ ตามบทบาท หน้าที่ อย่างเต็มความสามารถ

  12. คณะกรรมการดำเนินงาน(ทีมทำ)คณะกรรมการดำเนินงาน(ทีมทำ) • แต่ละระดับ ประกอบด้วย • 1. หัวหน้าระดับ ประธาน • 2. อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับชั้น กรรมการ • 3. อาจารย์ผู้สอนในระดับชั้น กรรมการ • 4. ผู้แทนนักเรียน - นักศึกษาในระดับชั้น กรรมการ • 5. อาจารย์แนะแนว กรรมการ

  13. บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในคณะกรรมการดำเนินงาน(ทีมทำ)บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในคณะกรรมการดำเนินงาน(ทีมทำ) • 1. หัวหน้าระดับ • 1.1 กำกับ ติดตาม การทำงานของอาจารย์ที่ปรึกษา • 1.2 ประสานผู้เกี่ยวข้อง • 1.3 จัดประชุมคณาจารย์ในระดับ เพื่อสร้างประสิทธิภาพ • 1.4 จัดประชุมกลุ่ม เพื่อปรึกษา ปัญหารายกรณี • 1.5 บันทึกหลักฐาน การปฏิบัติและทำรายงาน • ประเมินผลระดับ ส่งฝ่ายบริหารโดยฝ่ายทีมประสาน • 1.6 หน้าที่อื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย

  14. บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในคณะกรรมการดำเนินงาน(ทีมทำ)บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในคณะกรรมการดำเนินงาน(ทีมทำ) • 2. อาจารย์ที่ปรึกษา • 2.1 ดำเนินการตามแนวทางที่กำหนดของระบบดูแล • ช่วยเหลือ นักเรียน – นักศึกษา คือ • - การรู้จักนักเรียน – นักศึษา เป็นรายบุคคล • - การคัดกรองผู้เรียน • - การส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน • - การป้องกัน และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน • - การส่งต่อ

  15. บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในคณะกรรมการดำเนินงาน(ทีมทำ)บทบาทหน้าที่ของบุคลากรในคณะกรรมการดำเนินงาน(ทีมทำ) • 2. อาจารย์ที่ปรึกษา • 2.2 พัฒนาตนเอง ด้านองค์ความรู้ ทางจิตวิทยา • การแนะแนว และการให้คำปรึกษา • 2.3 ร่วมประชุมกลุ่ม ปรึกษาปัญาหารายกรณี • 2.4 บันทึก หลักฐาน การปฏิบัติงานและ ประเมิน • ผลรายงาน ส่งหัวหน้าระดับ • 2.5 ทำหน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

  16. 3. อาจารย์แนะแนว • 3.1 การนิเทศ สนับสนุนและเป็นแกนหลักให้อาจารย์ • ที่ปรึกษา และผู้เกี่ยวข้องทุกคน การให้ความรู้ • เทคนิควิธีการ และกระบวนการตามหลักจิตวิทยา • และการแนะแนวประเด็นสำคัญ คือ • - เทคนิค วิธีการ และเครื่องมือเพื่อรู้จัก • และเข้าใจ ผู้เรียน รวมทั้งการคัดกรอง • การจัดกลุ่ม • - เสนอ แนะแนวทางการจัดกิจกรรมโฮมรูม • การประชุมชั้นเรียน การจัดกิจกรรม

  17. 3. อาจารย์แนะแนว • - ให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับธรรมชาติ • และลักษณะของนักเรียน กลุ่มพิเศษ • ประเภทต่างๆ • 3.2 ให้คำปรึกษา(Couseling) แก่ผู้เรียน • กรณีอาจารย์ที่ปรึกษาไม่สามารถแก้ไขได้และส่งต่อมา • 3.3 ประสานกับผู้เกี่ยวข้องและเครือข่าย • 3.4 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน • 3.5 ให้บริการต่างๆ หรือทำโครงการเพื่อสนันสนุน • ระบบดูแลช่วยเหลือ

  18. 3. อาจารย์แนะแนว • 3.6 ร่วมประชุม กลุ่มปรึกษาปัญหารายกรณี • 3.7 ในกรณีที่นักเรียน นักศึกษา มีปัญหายากต่อการ • แก้ไข ของที่ปรึกษา แนะนำให้ส่งต่อผู้เชี่ยวชาญ • ภายนอกช่วยเหลือ • 3.8 ทำบันทึกการปฏิบัติคิดตามผลประเมินผล และ • รายงานส่งผู้บริหาร หรือหัวหน้าระดับ • 3.9 ทำงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

  19. 4. บทบาทหน้าที่ของอาจารย์ผู้สอนประจำวิชาและ • อาจารย์อื่นที่เกี่ยวข้อง • 4.1 ศึกษาข้อมูลผู้เรียนเป็นรายบุคคล • 4.2 ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวนักศึกษา แก่อาจารย์ที่ปรึกษา • 4.3 ให้ข้อมูลการรู้จักและเข้าใจผู้เรียนในการพัฒนา • 4.4 ให้คำปรึกษาเบื้องต้นในรายวิชาที่สอนการศึกษาต่อ • การประกอบอาชีพ การดำรงชีวิตและการพัฒนา • บุคลิกภาพ

  20. 4. บทบาทหน้าที่ของอาจารย์ผู้สอนประจำวิชาและ • อาจารย์อื่นที่เกี่ยวข้อง • 4.5 พัฒนาตนเองด้านความรู้ทางจิตวิทยา • และการแนะแนว • 4.6 ร่วมประชุมปรึกษาปัญหารายกรณี • 4.7 บันทึกหลักฐานการปฏิบัติงาน สรุปรายงานผล • ส่งหัวหน้าระดับ • 4.8 ทำหน้าที่ อื่น ตามที่ได้รับมอบหมาย

  21. 5. ผู้แทนนักเรียน - นักศึกษา • 5.1 เรียนรู้ ทำความเข้าใจ กรอบและแนวคิดของ • ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - นักศึกษา • 5.2 ประสานงานในการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ • สภาพปัญหาและความต้องการ ความจำเป็น • ของเพื่อน • 5.3 มีส่วนร่วมในการกำหนด แผนงาน / โครงการ/กิจกรรม • 5.4 เป็นแกนนำในการดูแลช่วยเหลือ เพื่อนนักศึกษา

  22. ภาระหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษาภาระหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา • ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน • นักศึกษา ของวิทยาลัยฯ

  23. 1. ด้านการเรียน • 1.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับของวิทยาลัย • 1.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) • และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวสใ) • 1.3 ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิชาเลือก • 1.4 ให้คำแนะนำในการลงทะเบียน • 1.5 ให้ความรู้เกี่ยวกับระเบียบ การวัดผล • 1.6 ติดตามการแก้ “0” “ขร” “มส” และ “มผ” ของนักศึกษา

  24. 1. ด้านการเรียน • 1.7 ให้คำปรึกษา เมื่อนักศึกษามีปัญหาการเรียน • 1.8 พบประพูดคุยกับผู้ปกครอง เพื่อร่วมแก้ปัญหาทางการเรียน • และความประพฤติ • 1.9 ติดตามเมื่อนักเรียน ขาดเรียน มาสาย โดยไม่ทราบสาเหตุ • 1.10 ตัดเตือนนักศึกษา เมื่อผลการเรียนต่ำ • 1.11 ประสานกับครูผู้สอนอื่นๆ ในการจัดกิจกรรม • 1.12 ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการเรียนให้ประสบความสำเร็จ

  25. 2. ด้านพฤติกรรม • 2.1 ปลูกผังนักเรียน – นักศึกษา ให้มีความตระหนัก และพยายาม • ในการรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อการทำงาน • 2.2 ฝึกให้นักศึกษาทำงานร่วมกัน • 2.3 ตักเตือนเมื่อนักศึกษา แต่งกายไม่เรียบร้อย ผิดระเบียบ • 2.4 ดูแลนักศึกษา เมื่อนักศึกษาประพฤติตนไม่เหมาะสม • 2.5 อบรม กิริยา มารยาท และปลูกฝังคุณธรรม • 2.6 ให้คำปรึกษา ปัญหา ส่วนตัว และส่งต่อผู้เชี่ยวชาญ • กรณียากต่อการแก้ไข

  26. 2. ด้านพฤติกรรม • 2.7 ให้คำแนะนำในการคบเพื่อน • 2.8 ให้ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหา โทษพิษภัยของ • ยาเสพติด ทุกชนิด • 2.9 ให้คำปรึกษาเกี่ยวกับ สุขภาพกายและสุขภาพจิต • 2.10 ให้คำแนะนำเรื่องการปรับปรุงบุคลิกภาพ • 2.11 ให้คำแนะนำในเรื่องการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ • 2.12 ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือด้านต่างๆ เช่น การสนับสนุน • ให้ทุนการศึกษา ฯลฯ

  27. 2. ด้านพฤติกรรม • 2.13 ให้ทุนสนับสนุนการใช้ความสามารถ • 2.14 เยี่ยมบ้าน นักศึกษา • 2.15 เอาใจใส่ดูแล ให้คำแนะนำเรื่องการคบ เพื่อนต่างเพศ • 2.16 มีกิจกรรมร่วมกับนักศึกษา เช่นการศึกษาแหล่งเรียนรู้จากภายนอก • 2.17 ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี • 2.18 จัดกิจกรรมสม่ำเสมอ • 2.19 จัดกิจกรรมประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน • 2.20 ร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงทุกครั้ง • 2.21 จัดกิจกรรม โฮมรูม ทุกครั้งที่ วิทยาลัย กำหนด

  28. บทบาทหน้าที่คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองบทบาทหน้าที่คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง • 1. จัดประชุม กรรมการผู้ปกครอง อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง • 2. จัดกิจกรรมโครงการที่พัฒนาศักยภาพของผู้ปกครอง • และนักศึกษา • 3. ร่วมเสนอแนวทาง และร่วมกิจกรรมโครงการ • ที่เป็นประโยชน์ แก่นักศึกษา และวิทยาลัยฯ • 4. จัดทำ ทำเนียบนักศึกษา และผู้ปกครองโดยละเอียด • 5. สนับสนุนการพัฒนากาเรียนการสอนของวิทยาลัย • 6. สร้างและขยายเครือข่าย การพิทักษ์ และคุ้มครองสิทธิ์ • เด็ก และเยาวชน

  29. กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ ของคณะกรรมการระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียน - นักศึกษา

  30. คณะกรรมการทุกคน ต้องระลึกเสมอว่า งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน – นักศึกษา เป็นงานของทุกคน ทุกฝ่าย ที่ต้อง ร่วมกัน รับผิดชอบ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ จำเป็นต้องมีการ ประสานร่วมมือทำงานเป็นทีม

  31. กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ • 1. ต้องมีการประชุมสม่ำเสมอ อย่างต่อเนื่อง • 2. ทุกคนต้องเข้าร่วมประชุมโดยพร้อมเพรียงตรงต่อเวลา • และเสียสละ เวลาอยู่ร่วมประชุมโดยตลอด • 3. เลิกประชุมพร้อมกัน ไม่ออกนอกห้องประชุม • ก่อนยุติการประชุม • 4. เคารพมติของที่ประชุม ถ้ามีการเปลี่ยนแปลง จะต้อง • มีการประชุม ตกลงกันก่อน • 5. มีความเคารพ ซึ่งกัน ให้เกียรติ และมีความภาคภูมิใจ • ในผลงานร่วมกัน

  32. บทบาทหน้าที่ของผู้ปกครองบทบาทหน้าที่ของผู้ปกครอง ในการมีส่วนร่วมกับคณะกรรมการ เครื่อข่าย ผู้ปกครอง และวิทยาลัยฯ

  33. บทบาทหน้าที่ของผู้ปกครองบทบาทหน้าที่ของผู้ปกครอง • 1. ร่วมวางแผนพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้เป็น • คนดี มีปัญญา มีความสุข และรักษา • ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย • 2. ให้ความร่วมมือกับคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง • ชุมชน วิทยาลัยฯ • 3. ร่วมเสนอแนวทางและการจัดกิจกรรม ป้องกันและ • แก้ไข พัฒนาผู้เรียน

  34. บทบาทหน้าที่ของผู้ปกครองบทบาทหน้าที่ของผู้ปกครอง • 4. ให้การดูแลนักศึกษา ในปกครองให้ได้รับการพัฒนา • ตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ • 5. เป็นแม่แบบที่ดีในการประพฤติตนในทุกด้าน • 6. สอดส่องดูแล ช่วยเหลือนักศึกษาให้ได้รับการคุ้มครอง ตามอนุสัญญา ว่าด้วยสิทธิ์ เด็กและเยาวชน

  35. มาตรฐานและคุณภาพระบบดูแลมาตรฐานและคุณภาพระบบดูแล ช่วยเหลือ นักเรียน – นักศึกษา ของวิทยาลัย

  36. แผนภูมิการเชื่อมโยง ระบบการดูแลช่วยเหลือ

  37. การจัดเก็บข้อมูลนักศึกษาการจัดเก็บข้อมูลนักศึกษา การรู้จักนักศึกษาเป็นรายบุคคล การคัดกรองนักศึกษา กลุ่มพิเศษ กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหา ส่งต่อ ภายนอก ส่งเสริมพัฒนา พัฒนา ป้องกัน/แก้ไข ประเมินผล ช่วยเหลือ หรือส่งต่อ ภายใน / ภายนอก ส่งเสริม /พัฒนาด้านกิจกรรมโฮมรูมและอื่นๆ แนะแนว ร่วมมือ และสร้างความเข้าใจกับผู้ปกครอง N Y รายงานผลการประเมินให้ ผู้เกี่ยวข้องทราบ

  38. ขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความสนใจหากมีข้อสงสัย081-667-5293สวัสดีครับขอขอบคุณทุกท่านที่ให้ความสนใจหากมีข้อสงสัย081-667-5293สวัสดีครับ

More Related