1 / 25

การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามประเมินผล

การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามประเมินผล. แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และ การประเมินผลการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔. ข้อมูลจาก www.oag.go.th : แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน.

Download Presentation

การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามประเมินผล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามประเมินผลการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการติดตามประเมินผล

  2. แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และ การประเมินผลการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อมูลจาก www.oag.go.th : แนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน

  3. การจัดวางระบบการควบคุมภายใน (ตามข้อ ๕) การติดตามประเมินผลการควบคุมภายใน (ตามข้อ ๖)

  4. การจัดวางระบบการควบคุมภายในการจัดวางระบบการควบคุมภายใน ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544ข้อ 5 “ให้หน่วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุมภายในโดยใช้มาตรฐานการควบคุมภายใน ท้ายระเบียบนี้เป็นแนวทางให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ โดยอย่างน้อย ต้องแสดงข้อมูล ดังนี้ ฯลฯ”

  5. ตัวอย่างสถานีตำรวจ…...................... หนังสือรับรองการจัดวางระบบการควบคุมภายในเรียน ผู้บังคับการ........................................ (สถานีตำรวจ..........) …………………. ..………ขอรับรองว่า ได้จัดวางระบบการควบคุมภายใน แลนำมาใช้สำหรับการปฏิบัติงานในปัจจุบัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า การดำเนินการของ…………………..จะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิภาพการดำเนินงานและการใช้ทรัพยากร ซึ่งรวมถึงการรักษาทรัพย์สินการป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลืองหรือการทุจริต ด้านความเชื่อถือได้ของรายงานการเงิน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติคณะรัฐมนตรี และนโยบายซึ่งรวมถึงการปฏิบัติงานตามระเบียบของฝ่ายบริหาร ทั้งนี้ ………………………จะกำหนดให้มีการประเมินผลระบบการควบคุมภายในที่นำมาใช้ในปัจจุบัน เพื่อปรับปรุงให้มีประสิทธิผลและเพียงพอ ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๖ ต่อไป พ.ต.อ. ( )ผู้กำกับการ........................... ๓๐กันยายน ..............

  6. การประเมินผลการควบคุม : การรายงาน - คตง. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วย การกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544ข้อ 6 กำหนดให้ผู้รับตรวจรายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.)กำกับดูแล และคณะกรรมการตรวจสอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายใน 90 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณหรือปีปฏิทิน แล้วแต่กรณี โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1) ทำความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจที่ใช้อยู่มีมาตรฐาน ตามระเบียบฯ (ปอ. 1,ปส. ) (2) รายงานผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ในการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด รวมทั้งข้อมูลสรุปผลการประเมิน แต่ละองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ (ปอ. 2 ,ปย.1) (3) จุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในพร้อมข้อเสนอแนะและแผนการปรับปรุงระบบ การควบคุมภายใน (ปอ. 3,ปย.2)

  7. การรายงานตามระเบียบ ฯ ข้อ 6 ระดับหน่วยงานย่อย - รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน - แบบ ปย. 1 - รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน - แบบ ปย. 2 ระดับองค์กร - หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน - แบบ ปอ. 1 - รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน - แบบ ปอ. 2 - รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน - แบบ ปอ. 3 ผู้ตรวจสอบภายใน - รายงานผลการสอบทานการประเมินการควบคุมภายใน - แบบ ปส.

  8. ขั้นตอน ๑. แต่งตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานติดตามและประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน ๒. คณะกรรมการหรือคณะทำงานรวบรวมข้อมูลของหน่วยงาน/แผนก - สภาพแวดล้อม - ปัญหาจากการปฏิบัติงานด้านต่างๆ โดยใช้แบบสอบทานระบบการควบคุมภายในและเกิดจากการปฏิบัติงานจริง - ผลการดำเนินการตามรายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย. 2) ของปีก่อน

  9. ขั้นตอน (ต่อ) - ข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงทั้งประเภทโอกาสและผลกระทบที่จะเกิดแต่ละสายงาน - ความเสี่ยงแต่ละกิจกรรมเพื่อหาปัจจัยเสี่ยง ๓. คณะกรรมการ/คณะทำงานจัดประชุม - ทบทวนระบบการควบคุมภายใน - กำหนดเกณฑ์ความเสี่ยงแต่ละสายงาน - วิเคราะห์ความเสี่ยงโดยการประเมินและจัดลำดับความเสี่ยง

  10. ขั้นตอน (ต่อ) - ๔. ประเมินองค์ประกอบควบคุมภายใน จัดทำ ปย.๑ ๕. จัดทำ ปย.๒ ๖. จัดส่งรายงาน (ปย.๑ – ๒) ต่อหน่วยงานต้นสังกัด

  11. การประเมินผลการควบคุม : การรายงาน - คตง. 6 ขั้นตอนการจัดทำรายงานตามระเบียบฯ คตง. ปส. ส่ง สตง. ภายใน 30 ธ.ค. 5 ปอ.1 ระหว่างปี ติดตาม ส่งคตป. (พค.) สิ้นปี ปอ.1 ปอ.2 ปอ.3 ปส. กราบเรียน นายก ส่งสตง., คตป. ( ธ.ค.) 3 ปอ.2 ปอ.3 4 ปย.2 2 จุดอ่อนของ การควบคุมภายใน 1 ปย.1 แบบประเมินองค์ประกอบ การควบคุมภายใน ปย.2 งวดก่อน

  12. สำนักงานตำรวจแห่งชาติสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ปอ.1,ปอ2 และปอ.3 • กราบเรียนนายกฯ • ส่ง ค.ต.ป. • สตง. (ปอ.1) เจ้าหน้าที่อาวุโสหรือคณะกรรมการ ปส. บช.? ปย1 /ปย2 บช.? ปย1 /ปย2 บช.? ปย1 /ปย2 บช.? ปย1/ ปย2 บช.? ปย1/ ปย2 บก./ภ.จว. ปย1/ปย2 กก./งาน ปย1/ปย2 6

  13. ขั้นที่ ๑ ขั้นที่ ๒ ปย.๑(หน่วยงานในสังกัด) ประเมิน ๕ องค์ประกอบ ปย. ๒(หน่วยงานในสังกัด) ประเมินกระบวนการปฏิบัติงาน ขั้นที่ ๓ ขั้นที่ ๔ ปย.๒ (บช.หรือเทียบเท่า/บก.หรือเทียบเท่า) และประเมินกระบวนการปฏิบัติงานเพิ่มเติม ปย. ๑ (บช.หรือเทียบเท่า/บก.หรือเทียบเท่า) ประเมิน ๕ องค์ประกอบเพิ่มเติม ขั้นที่ ๕ รายงาน ตร.(ผ่าน สตส./สยศ(ยศ.)) ตามแบบ ปย.๑ และ ปย.๒ 5

  14. ขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อยขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย ขั้นตอนที่ 1 ประเมินแต่ละองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของ การควบคุมภายใน (ปย.1)

  15. การติดตามและประเมินผลการติดตามและประเมินผล สารสนเทศและการสื่อสาร กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสาร การประเมินความเสี่ยง สภาพแวดล้อมการควบคุม องค์ประกอบการควบคุมภายใน

  16. รายงานระดับส่วนงานย่อย องค์ประกอบการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม 1.1...................................................... 1.2...................................................... 2. การประเมินความเสี่ยง 2.1..................................................... 2.2..................................................... 3. กิจการรมการควบคุม 3.1..................................................... 3.2..................................................... 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 4.1..................................................... 4.2..................................................... 5. การติดตามประเมินผล 5.1...................................................... 5.2...................................................... แบบ ปย.๑ รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน (ปย.1) ๑ ใช้แบบประเมินองค์ประกอบ ของการควบคุมภายใน ผลการประเมินโดยรวม ....................................................................................................................................................................................

  17. ตัวอย่าง-แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (ปย.1)

  18. ตัวอย่าง-แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน (ปย.1)

  19. ขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อยขั้นตอนการจัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลและปรับปรุงการควบคุมภายในงวดใหม่ รายงานการประเมินและการปรับปรุง การควบคุมภายในงวดก่อน (ปย.2 งวดก่อน) และจุดอ่อนการควบคุมที่อยู่ใน ปย.1 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุง การควบคุมภายใน (ปย.2)

  20. รายงานระดับส่วนงานย่อย แบบ ปย.2 2 รายงานการประเมินผลและการปรับปรุงการควบคุมภายใน (ปย.2) ใช้แบบสอบถาม การควบคุมภายใน เกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงาน ทุกภารกิจในหน่วยงาน

  21. มีการกำหนดหน้าที่ความ รับผิดชอบตามคำอธิบาย ตำแหน่งงาน เป็นลายลักษณ์อักษร นำไปประเมินความเพียงพอ ของการควบคุมภายในของกิจกรรมนี้ x

  22. ขั้นตอนที่ 2 ประเมินผลของงวดก่อนและการปรับปรุงการควบคุมภายในงวดใหม่ องค์ประกอบการควบคุมภายใน ผลการประเมิน/ข้อสรุป 1. สภาพแวดล้อมของ การควบคุม 2. การประเมินความเสี่ยง 3. กิจการรมการควบคุม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร 5. การติดตามประเมินผล ปย. 2งวดก่อน ปย. 1 ปย. 2 (ปีถัดไป) ประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อเท็จจริง โดยใช้เทคนิคการประเมินผล เช่น แบบสอบถาม สัมภาษณ์ สังเกตการณ์ ประชุมเชิงปฏิบัติการ การระดมความคิด การจัดทำแผนภาพ เป็นต้น

  23. การประเมินความเสี่ยง ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) 5 ส ม ม ม ม ความเสี่ยงสูงมาก ม 4 ส ส ส ม ม ความเสี่ยงสูง ผลกระทบของความเสี่ยง ส 3 ก ก ส ส ม ความเสี่ยงปานกลาง ก 2 ต ก ก ส ส ความเสี่ยงต่ำ ต 1 ต ก ก ส ต 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง

  24. กิจกรรมการควบคุม ข้อควรพิจารณา • ต้องสามารถป้องกันหรือลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ • ต้องปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม • ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นต้องไม่สูงกว่าผลประโยชน์ที่จะได้รับจากความเสียหายที่เกิดขึ้น • มีการติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ ว่า กิจกรรมการควบคุมดำเนินไปอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

  25. Q & A

More Related