1 / 61

กำหนดการ

การนำองค์การเข้าสู่ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในการรองรับการเปลี่ยนแปลง ( Public Sector Management Quality Award) : PMQA. กำหนดการ. การบริหารการเปลี่ยนแปลงและระบบราชการไทยกับการเปลี่ยนแปลง ทิศทาง และเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

urbain
Download Presentation

กำหนดการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การนำองค์การเข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในการรองรับการเปลี่ยนแปลง (Public Sector Management Quality Award) :PMQA

  2. กำหนดการ • การบริหารการเปลี่ยนแปลงและระบบราชการไทยกับการเปลี่ยนแปลง • ทิศทาง และเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 . เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 * ลักษณะสำคัญขององค์กร *เกณฑ์ Fundamental Level

  3. ธรรมาภิบาลกับความเป็นมาธรรมาภิบาลกับความเป็นมา • ธนาคารโลก ปี ค.ศ.1992 • UNDP ค.ศ.1997 • lMFพ.ศ. 2540 3

  4. หลักธรรมาภิบาล(สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ) (UNDP) 4

  5. 5

  6. 6

  7. 7

  8. ที่มา 8

  9. ระบบราชการกับการเปลี่ยนแปลงระบบราชการกับการเปลี่ยนแปลง โลกยุคโลกาภิวัตน์ กระแสสังคมเช่น -ประชาธิปไตย -ธรรมมาภิบาล สังคมเศรษฐกิจเป็นยุค แห่งการเรียนรู้ เศรษฐกิจเสรีไร้พรมแดน การแข่งขันในเวทีโลก ใครเรียนรู้ไม่ทันโลก จะมีปัญหา งานรัฐมากขึ้นยากขึ้น รัฐต้องเล็กลง ลดเงิน ลดคน ลดอำนาจ ต้องเปิดให้มีส่วนร่วม ต้องโป่รงใส พร้อมถูกตรวจสอบ

  10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 74 และ 78 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย • มาตรา 74 กำหนดให้ “บุคคลผู้เป็นข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ มีหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก และให้บริการแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีในการปฏิบัติหน้าที่และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน บุคคลตามวรรคหนึ่งต้องวางตนเป็นกลางทางการเมือง….” • มาตรา 78 (4) (5) รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดินดังต่อไปนี้ • (4) พัฒนาระบบงานภาครัฐ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทำงาน เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ • (5) จัดระบบงานราชการและงานของรัฐอย่างอื่น เพื่อให้การจัดทำและการให้บริการสาธารณะเป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ โดยคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน 10

  11. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ฉบับที่ 5 (2545) มาตรา 3/1 “การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไป(2) เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน (3)เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (4)ความมีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐ (5)การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (6) การลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จำเป็นการกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น (7)การกระจายอำนาจตัดสินใจการอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชนทั้งนี้ (8)โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน การจัดสรรงบประมาณ และการบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้าที่ต้องคำนึงถึงหลักการตามวรรคหนึ่ง” พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน “ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงานการมีส่วนร่วมของประชาชนการเปิดเผยข้อมูลการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติราชการและการสั่งการให้ส่วนราชการและข้าราชการปฏิบัติก็ได้” 11

  12. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (มาตรา 6) หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของ (มาตรา 7-มาตรา 8) ประชาชน หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (มาตรา 9-มาตรา 19) ต่อภารกิจของรัฐ หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิ (มาตรา 20-มาตรา 26) และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (มาตรา 27-มาตรา 32) หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (มาตรา 33-มาตรา 36) หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง (มาตรา 37-มาตรา 44) ความต้องการของประชาชน หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (มาตรา 45-มาตรา 49) หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด (มาตรา 50-มาตรา 53) พรฎ. หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดี 12

  13. หลังปฏิรูประบบราชการ 3ต.ค. 2545 พรบ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน( ฉบับที่ 5)พศ.2545 ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พศ. 2546 พรบ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พศ.2545 ปรับโครงสร้าง ให้เหมาะกับงาน พรบ. งบประมาณ พศ.2542 ปรับการใช้เงินให้คุ้มค่า พรบ.ข้าราชการพลเรือน พศ.2551 เพิ่มเงินให้ข้าราชการ

  14. การบริหารจัดการที่ดี (Good Governace) กรอบการบริหารภาครัฐใช้หลักอะไร “ยึดหลักธรรมาภิบาลหรือการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี” หมายถึง หลักบริหารงานที่มุ่งเน้นหลักการโดยมิใช่หลักการที่เป็นรูปแบบทฤษฎีการบริหารงาน แต่เป็นหลักการทำงานที่ทำแล้วก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีที่สุดขององค์การ

  15. ธรรมาภิบาลมีองค์ประกอบอย่างไรธรรมาภิบาลมีองค์ประกอบอย่างไร ตามพระราชกฤษฎีการว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการเมืองที่ดี พ.ศ 2546 ประกอบด้วย 10 หลักคือ • หลักนิติธรรม • หลักคุณธรรม • หลักความโปร่งใส • หลักความมีส่วนร่วม • หลักความรับผิดชอบ • หลักความคุ้มค่า • หลักการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ • หลักการบริหารจัดการ • หลัการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • หลักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  16. อะไรคือเป้าประสงค์ของธรรมาภิบาล?อะไรคือเป้าประสงค์ของธรรมาภิบาล? • เป้าหมาย • เกิดประโยชนสุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ • มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ • ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น • มีการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการให้ทันต่อสถานการณ์ • ประชาชนได้รับการอำนวยความสะดวกและได้รับการตอบสนองความต้องการ • มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการเมืองที่ดี พ.ศ 2546

  17. Fusion Management TQA, PMQA Management Frameworks PMQA , PART (Assessment tool) BSC, SWOT, BM, KM ISO , HACCP , HA …. Quality Systems & Standards Management & Improvement Tools 17

  18. องค์ประกอบการพัฒนาระบบการจัดการองค์ประกอบการพัฒนาระบบการจัดการ • บริบทขององค์กร • ลักษณะองค์กร • สภาพแวดล้อมขององค์กร • ความสัมพันธ์ระดับองค์กร • ความท้าทายขององค์กร • สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน • บริบทด้านกลยุทธ์ • การปรับปรุง 1 • ค่านิยมและแนวคิด • การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ • ความรับผิดชอบต่อสังคม • การให้ความสำคัญกับพนักงานและคู่ค้า • ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นผู้รับบริการ • การมุ่งเน้นอนาคต • ความคล่องตัว • การเรียนรู้ระดับองค์กรและบุคคล • การจัดการเพื่อนวัตกรรม • การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง • การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า • มุมมองในเชิงระบบ • การตรวจประเมิน • กระบวนการ • แนวทาง • การปฏิบัติ • การเรียนรู้ • การบูรณาการ • ผลลัพธ์ • ระดับ • แนวโน้ม • การเปรียบเทียบ • การบูรณาการ 2 4 ระบบการจัดการ • ระบบการจัดการ (ตามเกณฑ์PMQA) • การนำองค์กร • การวางแผนเชิงยุทธ์ศาสตร์ • การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ • และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ • การมุ่งเน้กนทรัพยารบุคคล • การจัดการกระบวนการ • ผลลัพธ์การดำเนินการ 3

  19. ค่านิยมหลักและเกณฑ์ โครงสร้างองค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ ความสำคัญกับ ผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  20. สรุปสาระสำคัญของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 5.การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 8) มาตรา 10,11,27,47 2.การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (พรฎ. หมวด 2, 3) มาตรา. 6,8,9,12,13,16 1.การนำองค์กร (พรฎ. หมวด 2, 5, 7, 8) มาตรา 8,9,12,16,18,20,23,27,28, 43,44,46 7.ผลลัพธ์ การดำเนินการ (พรฎ. หมวด 3, 4, 8) มาตรา 10,20,27,28,29,31 3.การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พรฎ. หมวด 2, 5, 6, 7) มาตรา.8,30,31,38,39,40 41,42,45 6.การจัดการกระบวนการ (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 7) มาตรา 10,20,27,28,29,31 4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (พรฎ. หมวด 3, 5, 7, 8) มาตรา 11,39 20

  21. ทำไมถึงต้องมี “การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ” เพื่อยกระดับคุณภาพการปฏิบัติงานของภาครัฐ ให้สอดคล้องกับพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการของหน่วยงานสู่ระดับมาตรฐานสากล เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางในการประเมินตนเองและเป็นบรรทัดฐาน การติดตาม และประเมินผลการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐ

  22. ทุจริต คอร์รัปชั่น เช้าชาม เย็นชาม/ช้า ไม่ตอบสนองความต้องการของประชาชน เจ้าขุนมูลนาย สั่งการตามสายการบังคับบัญชา ทำงานแบบต่างคนต่างทำ ยึดกฎระเบียบเป็นหลัก ขาดความยืดหยุ่น คุณพ่อผู้รู้ดี/เป็นนายประชาชน ประหยัด ประสิทธิภาพ คุ้มค่าเงิน /ประสิทธิผล /คุณภาพ ภาระรับผิดชอบ เปิดเผย โปร่งใส ประชาชนมีส่วนร่วม ตอบสนองความต้องการของประชาชน (ประชาชนเป็นศูนย์กลาง) กระจายอำนาจ นิติธรรม/นิติรัฐ การบริหารราชการที่ไม่ดีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  23. ยุทธศาสตร์ปฏิรูประบบราชการ เฟส 1(พศ.2546 – 2550) วางระบบโครงสร้างราชการใหม่ ปรับบทบาท ภารกิจและขนาดให้เหมาะสม ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทำงานที่ตั้งเป้าหมายอยู่ในเกณฑ์สากล

  24. ยุทธศาสตร์ปฏิรูประบบราชการ เฟส 2(พศ.2551 – 2555) สู่องค์กร เก่ง ดี มีส่วนร่วม ทันสมัย

  25. ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย(พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยกระดับการให้บริการและ การทำงานเพื่อตอบสนองความคาดหวังและความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซํบซ้อนหลาก หลาย และเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ปรับรูปแบบการทำงาน ให้มีลักษณะเชิงบูรณาการเกิดการแสวงหาความร่วมมือ และสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ระชาชน เข้ามามีส่วนร่วม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างระบบการกำกับดูแลตนเองที่ดี เกิดความโปร่งใส มั่นใจและสามารถตรวจสอบได้ รวมทั้งทำให้บุคลากรปฏิบัติงานอย่างมีจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อประชาชน และต่อสังคมโดยรวม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูงบุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้คิดริเริ่มเปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสม ต่อสถานการณ์ต่าง ๆ 25

  26. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2551- พ.ศ. 2555) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3: มุ่งสู่การเป็นองค์การที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพร้อมและความสามารถในการเรียนรู้ คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลง และปรับตัวได้อย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ เป้าประสงค์: ส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ สามารถพัฒนาขีดสมรรถนะและมีความพร้อม ในการดำเนินงาน ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐ ในการปรับปรุงและยกระดับคุณภาพการบริหารงาน ตามแผนพัฒนาองค์การ(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยเฉลี่ย) ในปีงบประมาณ 55

  27. Roadmap การพัฒนาองค์การ 2554 2552 2553 5 1 2 กรมด้านบริการ 6 3 4 เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 1 3 กรมด้านนโยบาย 6 2 5 เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Successful Level 6 สถาบันอุดมศึกษา 4 5 เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

  28. เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “ รางวัลการพัฒนาองค์การดีเด่น” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 “รางวัลมุ่งมั้นพัฒนาองค์การดีเด่น หมวด ........” Successful Level ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 10 9 8 7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 6 5 4 3 2 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 1 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7

  29. กรอบการปฏิบัติราชการแนวใหม่หลังปฏิรูประบบราชการกรอบการปฏิบัติราชการแนวใหม่หลังปฏิรูประบบราชการ การกำหนดยุทธศาสตร์ การนำยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ การประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์

  30. กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ค่าเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจ ยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ โครงการ เป้าประสงค์ งบประมาณ ตัวชี้วัด

  31. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 • มิติด้านประสิทธิผล • ผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการ • การขับเคลื่อนนโยบายสำคัญเร่งด่วนของรัฐบาล • การพัฒนาสังคม คุณภาพชีวิต ความปลอดภัย ความมั่นคง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มิติที่ 1 • มิติด้านคุณภาพการให้บริการ • ความพึงพอใจ • การป้องกันการทุจริต มิติที่ 2 • มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • การรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ • การบริหารงบประมาณ • การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน มิติที่ 3 • มิติด้านการพัฒนาองค์การ • การบริหารจัดการองค์การ

  32. แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคลแนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล การพัฒนาระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคลของส่วนราชการ ระดับกระทรวง ระดับกลุ่มภารกิจ ระดับกรม ระดับกรม ระดับสำนัก / กอง ระดับสำนัก/กอง ระดับบุคคล 32

  33. ทิศทาง และเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 33

  34. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมา ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2552 2549 2550 2551 2552 • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละส่วนราชการมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง • เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น” • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง • สำหรับส่วนราชการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร และดำเนินการปรับปรุงองค์กร • น้ำหนักร้อยละ 22 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ • มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI” • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำความเข้าใจเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ 34

  35. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • มุ่งเน้นเพื่อผลักดันให้ส่วนราชการปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง โดยวัดความสำเร็จของการดำเนินการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานต่อไป ให้ครบทั้ง 6 หมวด • ส่วนราชการควรให้ความสำคัญกับการ “รักษา” ระบบบริหารจัดการที่ดีแม้ในหมวดที่ส่วนราชการได้ดำเนินการผ่านเกณฑ์ฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 - 2553 ไปแล้วก็ตาม เพื่อเป็นพื้นฐานสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบบริหารจัดการในขั้น Successful Level 37

  36. ลักษณะสำคัญขององค์กร

  37. P. ลักษณะสำคัญขององค์กร P1. ลักษณะองค์กร P2. ความท้าทายต่อองค์กร ก. ลักษณะพื้นฐานของส่วนราชการ ข. ความสัมพันธ์ ภายในและภายนอกองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ 14 การปรับปรุงประสิทธิภาพ 15 แนวทางการเรียนรู้ขององค์กร 1 พันธกิจและการให้บริการ 1.1 พันธกิจ หน้าที่ 1.2 แนวทางวิธีการให้บริการ 2 ทิศทาง 2.1 วิสัยทัศน์ 2.2 เป้าประสงค์หลัก 2.3 วัฒนธรรม 2.4 ค่านิยม 3 ลักษณะโดยรวมของบุคลากร 4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก 5 การดำเนินการภายใต้กฏหมาย 6 โครงสร้างองค์กร/การกำกับดูแลตนเองที่ดี 7 องค์กรที่เกี่ยวข้อง 8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 9 สภาพการแข่งขัน (คู่เทียบ) 10 ปัจจัยความสำเร็จในการแข่งขัน 11 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 12 ข้อจำกัดด้านข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • 13 ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ • ด้านพันธกิจ • ด้านปฏิบัติการ • ด้านบุคลากร 39

  38. เกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

  39. องค์ประกอบเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน(Fundamental Level) ส่วนที่ 1 เกณฑ์ Fundamental Level ส่วนที่ 2 คำอธิบายแนวทางดำเนินการ ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การพิจารณา การดำเนินการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อให้ผ่านเกณฑ์ Fundamental Level

  40. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับพื้นฐาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 Fundamental Level) • ประกอบด้วย 7 หมวดรวม 47 ประเด็น • แต่ละประเด็นเป็นการมุ่งเน้นกระบวนการและระบบงานพื้นฐานที่จำเป็น เพื่อตอบสนองประเด็นต่าง ๆ ของ พรฎ. ต่าง ๆ • ส่วนราชการต้องดำเนินการในแต่ละประเด็นให้ครบในทุกข้อและทุกหมวด

  41. ตัวอย่างการประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) เกณฑ์ หมวด 6 คำอธิบาย ส่วนราชการมีวิธีการเพื่อทำให้มั่นใจว่าระบบงานและสถานที่ทำงานมีการเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติ หรือ ภาวะฉุกเฉิน และระบบการเตรียมความพร้อมต่อภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉิน ซึ่งได้คำนึงถึงการป้องกัน การจัดการความต่อเนื่องของการดำเนินการ และการทำให้คืนสู่สภาพเดิม ภัยพิบัติ และภาวะฉุกเฉินอาจเกี่ยวข้องกับสภาพอากาศ สาธารณูปโภค ความปลอดภัย การจราจล หรือเกิดจากภาวะฉุกเฉินในระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติ ผ่าน / ไม่ผ่าน – จะผ่านต่อเมื่อทำครบทุก bullet วิธีการประเมิน A - แสดงแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อป้องกับผลกระทบกับการจัดการกระบวนการ ในกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉิน D - สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนสำรองฉุกเฉินรับทราบถึงแนวทางปฏิบัติ L - มีการทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนสำรองฉุกเฉินให้เหมาะสมทันสมัยอยู่เสมอ I - แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของระบบรองรับภาวะฉุกเฉินต่อการดำเนินการตามพันธกิจหลักของส่วนราชการว่าจะสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อเนื่อง

  42. หมวด 1 การนำองค์การ(Leadership) 44

  43. หมวด 1 การนำองค์การ(Leadership) 45

  44. หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์(Strategic Planning) 46

  45. หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์(Strategic Planning) 47

  46. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Customer and Stakeholder Focus) 48

  47. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Customer and Stakeholder Focus) 49

  48. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (Information and Technology) 50

  49. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ (Information and Technology) 51

  50. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (Human Resource)

More Related