1 / 24

การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย

การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย. สมาชิกในกลุ่ม นางสาวดวงพร รักเกาะรุ้ง รหัส 541995016 เอก เคมี นางสาว นัส รียา ยามา รหัส 541995017 เอก เคมี นางสาวกฤติยา ยงประเดิม รหัส 541995025 เอก เทคโนโลยีฯ นางสาวแพรไพลิน ภูมิประสิทธิ์ รหัส 541995030 เอก เทคโนโลยี ฯ.

Download Presentation

การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัยการสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย สมาชิกในกลุ่ม นางสาวดวงพร รักเกาะรุ้ง รหัส 541995016 เอก เคมี นางสาวนัสรียา ยามา รหัส 541995017 เอก เคมี นางสาวกฤติยา ยงประเดิมรหัส 541995025 เอก เทคโนโลยีฯ นางสาวแพรไพลิน ภูมิประสิทธิ์ รหัส 541995030 เอก เทคโนโลยี ฯ

  2. เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย แบบทดสอบ แบบสอบวัด มีส่วนร่วม ไม่มีส่วนร่วม วิธีการสอบ แบบสังเกต เครื่องมือเก็บ รวบรวมข้อมูล วิธีการสอบถาม วิธีการสังเกต เขียนตอบ สัมภาษณ์ แบบบันทึก มีโครงสร้าง ไม่มีโครงสร้าง ปลายเปิด ปลายปิด

  3. การสร้างและพัฒนาแบบสอบการสร้างและพัฒนาแบบสอบ แบบสอบ (Test) เป็นเครื่องมือที่รู้จักกันแพร่หลาย ใช้เพื่อวัดความรู้ ความสามารถและทักษะของผู้เรียน ส่วนในการวิจัยหรือประเมินนั้นจะใช้แบบสอบเมื่อตัวแปรหรือตัวชี้วัดเป็นความรู้ โดยสาระของแบบสอบ แบ่งออกได้เป็น การสร้างและพัฒนาแบบสอบประเภทอัตนัย การสร้างและพัฒนาแบบประเภทปรนัยชนิดถูก-ผิด เติมคำ จับคู่ การสร้างแบบสอบชนิดปรนัยเลือกตอบ

  4. ประเภทของแบบสอบ 1. แบ่งตามเกณฑ์จุดประสงค์ แบ่งได้ 2 ประการ คือ • แบบสอบอิงเกณฑ์ (Criterion-Reference Test) • แบบสอบถามอิงกลุ่ม (Norm-Reference Test) 2. แบ่งตามเกณฑ์เวลาสอบ แบ่งได้ 2 ประการ • แบบสอบวัดความเร็ว (Speed Test) • แบบสอบวัดความสามารถ (Power Test)

  5. 3. แบ่งตามเกณฑ์จำนวนผู้สอบ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ • แบบทดสอบเดี่ยว (Individual Test) • แบบทดสอบกลุ่ม( Group Test) 4. แบ่งตามเกณฑ์วิธีการตอบ แบ่งได้ 4 ประเภท คือ • แบบให้เขียนตอบ (Paper Pencil Test) พบในการสอบของสถานศึกษาต่าง ๆ หรือการสอบแข่งขันที่มีผู้เข้าสอบเป็นจำนวนมาก • แบบปฏิบัติ(Performance Test) เป็นการสอบเกี่ยวกับทักษะต่างๆ กระบวนการ ผลผลิต หรือชิ้นงาน • แบบปากเปล่า (Oral Test) เป็นการสอบครั้งละคน เช่น สอบป้องกันเค้าโครงวิทยานิพนธ์ สอบสัมภาษณ์และการแสดงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารเพื่อเข้ารับตำแหน่ง เป็นต้น • แบบใช้คอมพิวเตอร์ (Computer Test) เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ในการสอบ เช่น การสอบ Tofelหรือการสอบเยียวยาในการทำผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะของครู เป็นต้น

  6. 5. แบ่งตามเกณฑ์ลักษณะการใช้ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ • แบบสอบย่อย (Formative Test) • แบบสอบรวม (Summative Test) 6. แบ่งตามเกณฑ์ของสิ่งที่วัดแบ่งตามเกณฑ์ของสิ่งที่วัด แบ่งได้ 4 ประเภท คือ • แบบสอบวัดความรู้ (Achievement Test) • แบบสอบวัดความถนัด (Aptitude Test) • แบบสอบวินิจฉัย (Diagnostic Test) • แบบสอบความพร้อม (Readiness Test)

  7. 7. แบ่งตามเกณฑ์ความเป็นมาตรฐาน 7.1 การแบ่งตามเกณฑ์ความเป็นมาตรฐาน (Standardized Test) 7.2แบบสอบที่ครูสร้าง(Teacher –Made Test) 8. แบ่งตามเกณฑ์การตอบ แบ่งได้ 2 ประการ คือ 8.1 แบบสอบอัตนัย (Subjective Test) 8.2 แบบปรนัย (Objective Test) หรือแบบตอบสั้น (Short Answer) แบ่งได้ 4 ชนิด คือ แบบถูก-ผิด (True-Fault) แบบเติมคำ (Completion) แบบจับคู่ (Matching) แบบเลือกตอบ (Multiple Choice)

  8. การสร้างและพัฒนาแบบสอบประเภทอัตนัยการสร้างและพัฒนาแบบสอบประเภทอัตนัย แบบสอบประเภทอัตนัยแบ่งย่อยได้เป็น 2 ชนิด คือ 1. แบบตอบขยาย (Extended-Response Item) เป็นข้อความคำถามกว้าง ๆ โดยเปิดโอกาสให้ผู้ตอบแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ 2. แบบตอบจำกัด (Restricted –Response Item or Short Essay Item) เป็นข้อคำถามที่มีลักษณะเฉพาะ มีขอบเขตแคบกว่าชนิดแรก ซึ่งการสร้างและพัฒนาข้อสอบแบบอัตนัยให้ได้ดีนั้นควรทราบถึงจุดประสงค์ ข้อดี ข้อเสีย ก่อนที่จะสร้างและพัฒนารวมทั้งการตรวจให้คะแนน ซึ่งเป็นข้อจำกัดที่สำคัญแบบสอบประเภทนี้

  9. ข้อดี • สร้างได้เร็ว • ประหยัด • วัดความรู้ ความสามารถได้ทุกระดับ เน้นด้านการสังเคราะห์ขึ้นไป • ผู้ตอบมีโอกาสแสดงความรู้และความคิดเห็น หรือแนวคิดได้เต็มที่ • ผู้ตอบเดาไม่ได้ • ฝึกความสามารถในการเขียนได้ดี ข้อเสีย • ตรวจยาก ใช้เวลานาน • การให้คะแนนอาจขาดความยุติธรรม ขึ้นอยู่ลักษณะของผู้ตรวจ • การให้คะแนนขาดความเป็นปรนัย • ออกคำถามได้น้อยข้อ

  10. การสร้างแบบสอบอัตนัย • ควรวัดพฤติกรรมระดับสูงกว่าความรู้ ความจำและความเข้าใจเพราะถ้าจะวัดควรใช้แบบสอบประเภทอื่น • เนื่องจากออกข้อสอบได้น้อยข้อ จึงควรเลือกเฉพาะเนื้อหาและวัตถุประสงค์การเรียนรู้หรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่สำคัญ ๆ โดยพยายามให้เป็นตัวแทนของเนื้อหาทั้งหมดให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ถ้าได้มากข้อและถ้าเห็นว่าผู้เข้าตอบมีเวลาก็ควรออกให้มากข้อ เพื่อให้ครอบคลุมเนื้อหา • ข้อคำถามที่ควรใช้ คือ ให้อธิบาย เปรียบเทียบ บอกความสัมพันธ์ ความเหมือน ความแตกต่าง สรุปวิเคราะห์ วิจารณ์ ยกตัวอย่าง กำหนดแผน เสนอสิ่งใหม่ หรือประเมินค่าต่างๆ • เขียนข้อคำถามให้ชัดเจน รัดกุม เข้าใจง่าย

  11. ระบุคะแนนแต่ละข้อ เพื่อให้ผู้ตอบติดสินว่าควรทำข้อใดก่อน • เรียงข้อคำถามจากง่ายไปยาก • ไม่ควรให้เลือกตอบบางข้อ เพราะจะทำให้ขาดความยุติธรรม • กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนล่วงหน้า • เฉลยคำตอบไว้ล่วงหน้า • ควรแจ้งผู้สอบล่วงหน้าพอสมควร เพื่อให้มีเวลาเตรียมตัวศึกษาเพียงพอต่อการตอบได้อย่างลึกซึ้ง

  12. การพัฒนาแบบสอบอัตนัย โดยการตรวจสอบดังต่อไปนี้ • การหาความตรง การหาความตรงเชิงเนื้อหาโดยทั่วไปใช้สูตร IOC หรือ CVR หรือ เช่นเดียวกับเครื่องมือประเภทอื่นๆ • การหาความเที่ยง ความเที่ยงของแบบสอบอัตนัยจะต่ำ เนื่องจากข้อสอบสร้างได้น้อยข้อและการตรวจให้คะแนนยังไม่แน่นอนในการหาความเที่ยง เนื่องจากการให้คะแนนมากกว่า 2 ระดับ จึงใช้สูตร หรือสูตรที่ใช้สำหรับเครื่องมือประเภทอื่น • การหาความยากและอำนาจจำแนก การหาความยากและอำนาจจำแนกของแบบสอบอัตนัยสามารถประยุกต์หลักการวิเคราะห์ข้อสอบแบบเลือกตอบมาใช้ได้ โดยแบ่งเป็นผู้ที่ได้คะแนนกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำแล้วใช้สูตรและวิธีการคำนวณ

  13. การหาความตรงเชิงเนื้อหาการหาความตรงเชิงเนื้อหา ทำได้โดยการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Congruence: IOC) R = ผลรวมคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญ N = จำนวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด ค่า IOC  0.5 IOC ที่เหมาะสม=0.5 ขึ้นไป

  14. ตัวอย่าง การหาความสอดคล้องของวัตถุประสงค์และเนื้อหา (IOC) โดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญ โดยที่ n = จำนวนผู้เชี่ยวชาญ IOC ที่เหมาะสม=0.5 ขึ้นไป

  15. การสร้างและพัฒนาแบบสอบชนิดถูก-ผิดการสร้างและพัฒนาแบบสอบชนิดถูก-ผิด แบบสอบชนิดถูก-ผิด เป็นแบบสอบที่กำหนดข้อความให้ผู้ตอบพิจารณาว่าข้อความนั้นถูกหรือผิด ใช่หรือไม่ใช่ ซึ่งในปัจจุบันใช้กันค่อนข้างน้อย เนื่องจากมีข้อเสียที่สำคัญคือ ผู้สอบเดาได้ง่าย

  16. จุดมุ่งหมายในการใช้แบบสอบถูก-ผิดจุดมุ่งหมายในการใช้แบบสอบถูก-ผิด ใช้วัดพฤติกรรมด้านพุทธพิสัยที่ไม่สูงนัก เกี่ยวกับข้อเท็จจริงว่าใช่หรือไม่ ดีหรือไม่ดี ถูกหรือไม่ถูก ข้อดี • สร้างง่าย • สร้างได้มากข้อ • ใช้เวลาในการสอบน้อย • ตรวจง่าย ให้คะแนนได้ยุติธรรม

  17. ข้อเสีย • เดาง่าย • วัดพฤติกรรมขั้นต่ำได้เฉพาะความรู้ความจำ • ทำให้ไม่แน่ใจว่าคำตอบที่ได้มาจากการเดาหรือความรู้ความสามารถ • เนื่องจากเป็นการสร้างคำถามที่เน้นข้อเท็จจริงที่สมบูรณ์ ถ้าเนื้อหายังไม่มีข้อสรุปจะสร้างได้ยาก

  18. การสร้างแบบสอบถูก-ผิดการสร้างแบบสอบถูก-ผิด การสร้างแบบสอบถูก-ผิด แบ่งออกได้เป็น • การหาความตรงเชิงเนื้อหา • การหาความเที่ยง • การหาความยาก • การหาอำนาจจำแนก

  19. การสร้างและพัฒนาแบบสอบชนิดเติมคำการสร้างและพัฒนาแบบสอบชนิดเติมคำ แบบสอบชนิดเติมคำ มีจุดมุ่งหมายเพื่อวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยเกี่ยวกับข้อเท็จจริง สูตร กฎ ไวยากรณ์และคำจำกัดความต่างๆ เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ที่วัดความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริงและการคำนวณ ข้อดี • สร้างง่ายและใช้ได้กับ ทุกเนื้อหา • เดายาก • สร้างได้มากข้อ ข้อเสีย • วัดได้เฉพาะความรู้ • ถ้าคำถามไม่เฉพาะเจาะจง จะมีการตอบกว้างนอกประเด็น ตัดสินใจให้คะแนนลำบาก • การตรวจให้คะแนนอาจไม่ยุติธรรม

  20. การพัฒนาแบบสอบชนิดจับคู่การพัฒนาแบบสอบชนิดจับคู่ แบบสอบชนิดจับคู่ ประกอบด้วยชุดของข้อคำถามที่มีชุดตัวเลือกชุดหนึ่งร่วมกัน เมื่อจับคู่กันแต่ละครั้ง จำนวนตัวเลือกจะลดลงเรื่อย ๆ ลักษณะของแบบสอบจะแยกเป็น 2 กลุ่ม หรือ 2 แถว จุดมุ่งหมายในการใช้แบบสอบชนิดจับคู่ ใช้สำหรับวัดพฤติกรรมด้านทักษะพิสัยเกี่ยวกับคำศัพท์ ความหมาย เหตุผลต่างๆ หรือจัดกลุ่มประเภทที่มีความสัมพันธ์กัน เช่น อวัยวะกับหน้าที่

  21. ข้อดี • สร้างง่าย • ประหยัด • ให้คะแนนง่าย • วัดสาระเนื้อหาที่สัมพันธ์กันได้ดี ข้อเสีย • วัดได้เฉพาะความรู้ ความจำ • บางเนื้อหาสร้างแบบสอบทั้งชุดให้เป็นเรื่องเดียวกันได้ยาก

  22. การสร้างแบบสอบชนิดจับคู่การสร้างแบบสอบชนิดจับคู่ หลักการสร้างที่สำคัญ • คำถาม คำตอบต้องเป็นเรื่องเดียวกัน • ต้องมีคู่เดียวเท่านั้นที่สัมพันธ์กัน • ตัวเลือกในคำตอบต้องมีลักษณะเหมือนหรือใกล้เคียงกัน • ตัวเลือกควรมีมากกว่าคำถามประมาณ 3-4 ตัว • ไม่ควรสร้างให้มีข้อคำถามจำนวนมากเกินไป โดยไม่เกิน 12 ข้อ

  23. การสร้างและพัฒนาแบบสอบชนิดเลือกตอบการสร้างและพัฒนาแบบสอบชนิดเลือกตอบ แบบสอบประเภทปรนัย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ • แบบคำถามโดด คือ คำถามและตัวเลือกของแต่ละข้อไม่เกี่ยวกัน • แบบสถานการณ์ โดยมีการให้สถานการณ์และคำถามกับตัวเลือก • แบบเลือกคงที่ โดยมีตัวเลือกมาให้ชุดหนึ่งนำไปตอบคำถามหลายข้อได้ แบบสอบประเภทนี้จะวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย

  24. แนวทางการสร้างแบบสอบชนิดเลือกตอบแนวทางการสร้างแบบสอบชนิดเลือกตอบ • ศึกษาหลักสูตร เนื้อหา และวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมหรือการเรียนรู้ ที่จะสร้างแบบสอบ • สร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร (Table of Specification) • ร่างคำถามและองค์ประกอบ การร่างคำถามถือว่าเป็นหัวใจสำคัญที่สุดของการสร้างเครื่องมือ คือ ต้องสร้างตัวเลือกให้เหมาะสมและเพียงพอ

More Related