1 / 21

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อกระบวนการผลิตทางการเกษตร

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อกระบวนการผลิตทางการเกษตร. กรณีศึกษา : ผลกระทบของอุณหภูมิที่มีต่อศัตรูพืชใน ขบวนการผลิตทางการเกษตร. ผู้บรรยาย : ดร.สุรเชษฐ จามรมาน ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กทม. 10900.

Download Presentation

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อกระบวนการผลิตทางการเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต่อกระบวนการผลิตทางการเกษตร กรณีศึกษา:ผลกระทบของอุณหภูมิที่มีต่อศัตรูพืชใน ขบวนการผลิตทางการเกษตร ผู้บรรยาย :ดร.สุรเชษฐ จามรมาน ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กทม. 10900

  2. - ผลผลิตทางการเกษตร เช่น ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ่าง ถั่วเขียว ถั่วลิสง มันสำปะหลังแห้ง เนื้อมะพร้าวแห้ง ยาสูบ แป้ง รำ อาหารสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ตลอดจนผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่

  3. ถูกแมลงเข้าทำลายก่อให้เกิดความเสียหายประมาณ 80% ของผลผลิตหรือคิดเป็นมูลค่าไม่ต่ำกว่า 13,000ล้านบาทต่อปี

  4. - การพบแมลงหรือชิ้นส่วนแมลง ปนเปื้อนไปกับผลิตผลเกษตรที่ส่งไปขายยังต่างประเทศ จนมีผลต่อการส่งออกอย่างมาก โดยเฉพาะมีผลต่อการกำหนดราคาผลิตผลเกษตร

  5. แมลงศัตรูที่สำคัญที่พบทำลายผลผลิตทางการเกษตรในประเทศไทย ได้แก่ ด้วงงวงข้าวโพด ผีเสื้อข้าวเปลือก มอดแป้ง ผีเสื้อข้าวสาร ด้วงถั่วเขียว ด้วงงวงข้าว มอดยาสูบ มอดข้าวเปลือก

  6. ปัจจัยที่ส่งเสริมให้แมลงศัตรูผลิตผลเกษตรปัจจัยที่ส่งเสริมให้แมลงศัตรูผลิตผลเกษตร มีการระบาดตลอดปี เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเหมาะสม - ความร้อน - ความชื้น ทำให้ความเสียหายรุนแรง

  7. ตารางแสดงค่าอุณหภูมิที่มีต่อแมลงศัตรูผลิตผลเกษตรตารางแสดงค่าอุณหภูมิที่มีต่อแมลงศัตรูผลิตผลเกษตร http://www.doa.go.th

  8. แมลงศัตรูข้าว • พบเพลี้ยจั้กจั่น เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก เพลี้ยกระโดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว และบั่ว ระบาดมากที่สุดเมื่ออุณหภูมิ 32 องศาเซลเซียส • พบแมลงน้อยที่สุดที่อุณหภูมิ 16.6องศาเซลเซียส ผลงานวิจัย: คุณสุวัฒน์ รอยอารี กลุ่มงานวิจัยแมลงศัตรูข้าวและธัญพืชเมืองหนาว กรมวิชาการเกษตร

  9. อุณหภูมิต่ำกว่า 13องศาเซลเซียส ตั๊กแตนจะเคลื่อนไหวช้า หรือแข็งตัวบินไม่ได้ (ธันวาคม – กุมภาพันธ์)http://www.ricethailand.com

  10. เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง (ใช้ SAGE model) (SAGE = Soybean Aphid Growth Estimator) - การเพิ่มประชากรของเพลี้ยอ่อนถั่วเหลืองขึ้นอยู่กับการผลิตลูก การรอดตาย และการเจริญเติบโต

  11. 1. ที่อุณหภูมิ 68 องศาฟาเรนไฮต์ (20 องศาเซลเซียส) - จะผลิตลูกได้ปานกลาง- มีการรอดตายนาน (38วัน)- การเจริญเติบโตปานกลาง

  12. 2. ที่อุณหภูมิ 77 องศาฟาเรนไฮต์ (25องศาเซลเซียส)- จะผลิตลูกได้สูงสุด- การรอดตายปานกลาง (22วัน)- การเจริญเติบโตดีที่สุด

  13. 3. ที่อุณหภูมิ 86องศาฟาเรนไฮต์ (30องศาเซลเซียส)- จะผลิตลูกได้น้อย- การรอดตายลดลง (22วัน)- การเจริญเติบโตลดลง

  14. 4. ที่อุณหภูมิ 95 องศาฟาเรนไฮต์ (35องศาเซลเซียส)- ไม่สามารถให้ลูกได้เลย- การรอดตายน้อยที่สุด (11วัน)- ไม่สามารถเจริญเติบโตได้http://www.soybean.umn.edu

  15. แสดงอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุดสำหรับกิจกรรมต่าง ๆ ของผึ้ง ที่มาข้อมูล : สิริวัฒน์ วงษ์ศริ และเพ็ญศรี ตังคณะสิงห์ ฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  16. แมลงหวี่ • เจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส • ถ้าเลี้ยงแมลงที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นเวลานาน แมลงหวี่จะเป็นหมันหรือตายหมด http://www.chapa.ku.ac.th

  17. ยุงลาย นักวิชาการทั่วโลกเชื่อว่า สาเหตุของการ แพร่พันธ์ของยุงลาย และแมลงร้ายที่เป็น พาหะนำโรคต่าง ๆ ก็คือสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในช่วงเวลา กว่า 100ปี ที่ผ่านมา

  18. โลกมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของอากาศอย่างชัดเจนโลกมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของอากาศอย่างชัดเจน • อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกสูงขึ้นอย่างมากในปี พ.ศ. 2523 – 2533 • เป็นช่วงที่โลกมีสภาพอากาศร้อนที่สุด • El Nino ได้รับการบันทึกมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2110 จนถึงปัจจุบันปรากฏการณ์นี้ได้ก่อให้เกิดภาวะแห้งแล้งและอุณหภูมิสูงขึ้นในหลาย ๆ ประเทศรวมถึงประเทศไทย

  19. ภาวะแห้งแล้งมีผลต่อการเพิ่มจำนวนยุงลายภาวะแห้งแล้งมีผลต่อการเพิ่มจำนวนยุงลาย • ยุงและแมลงที่จำศีลในช่วงฤดูหนาวสามารถแพร่พันธุ์ได้ในสภาพอากาศของฤดูหนาว ที่มีอุณหภูมิสูงขึ้นด้วย ที่มา : http://www.kanchanapisek.or.th

  20. สรุป : ปัจจัยทางภูมิอากาศมีอิทธิพลโดยตรงต่อแมลงที่เป็นพาหะนำโรค • อุณหภูมิ ที่เพิ่มขึ้น จะเป็นตัวเร่งการเจริญเติบโตของแมลงพาหะ ผลที่ตามมา แมลงพาหะต้องการอาหาร เพื่อบำรุงมากขึ้น ต้องการเลือดมากขึ้น วางไข่เพิ่มสูงขึ้น

  21. อุณหภูมิต่ำสุด – สูงสุด จะเป็นตัวจำกัดการกระจายตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ • แมลงจะอยู่ภายใต้อุณหภูมิที่พอเหมาะเท่านั้น • อุณหภูมิต่ำสุดที่เปลี่ยนแปลงไป จะมีผลอย่างมากต่อการอยู่รอดของแมลงพาหะในฤดูหนาวที่ร้อนขึ้น จะทำให้ยุง แมลงสาป และปลวกเพิ่มสูงมากขึ้น

More Related