1 / 13

การปรับปรุงคุณภาพภาพเชิงความถี่ Image Enhancement in Frequency Domain

การปรับปรุงคุณภาพภาพเชิงความถี่ Image Enhancement in Frequency Domain. Image Enhancement in Frequency Domain.

vanessak
Download Presentation

การปรับปรุงคุณภาพภาพเชิงความถี่ Image Enhancement in Frequency Domain

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปรับปรุงคุณภาพภาพเชิงความถี่Image Enhancement in Frequency Domain

  2. Image Enhancement in Frequency Domain การปรับปรุงคุณภาพภาพเชิงความถี่ คือการแปลงฟูเรียร์ (FourierTransform)ซึ่งเป็นการแปลงเชิงปริพันธ์ (integration) ที่ช่วยให้เราสามารถทำการประมวลผลภาพได้เมื่อไม่สามารถที่จะประมวลผลภาพด้วยวิธีการอื่นๆ สามารถประมวลผลภาพต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพดีกว่าตัวกรองเชิงพื้นที่ ที่เป็นเชิงเส้น โดยการใช้ตัวกรองชนิดความถี่ต่ำผ่าน และความถี่สูงผ่านด้วยความแม่นยำสูง การแปลงฟูเรียร์ หมายถึงการแปลงเชิงปริพันธ์ โดยเป็นการเขียนแทนฟังก์ชั่นใดๆ ในรูปของผลบวก หรือปริพันธ์ของฐานที่เป็นฟังก์ชั่นรูปคลื่นไซน์หรือโคไซน์ • การแปลงฟูเรียร์ใน 1 มิติ (The One Dimensional Fourier Transform) • การแปลงฟูเรียร์ใน 2 มิติ (The Two Dimensional Fourier Transform) • ตัวกรองในโดเมนความถี่ (Filtering in the Frequency Domain) • ตัวกรองแบบโฮโมมอร์ฟิก (Homomorphic Filtering)

  3. ตัวกรองในโดเมนความถี่ (Filtering in the Frequency Domain) ก่อนการประมวลผล การแปลงฟูเรียร์ ภาพอินพุต f(x,y) หลังการประมวลผล การแปลงฟูเรียร์กลับ ฟังก์ชั่นการกรอง ภาพเอาต์พุต g(x,y)

  4. ตัวกรองความถี่ต่ำผ่านตัวกรองความถี่ต่ำผ่าน ตัวกรองความถี่ต่ำแผ่นแบบอุดมคติ (Ideal low-pass Filter)เป็นวงจรกรองความถี่ที่จะยอมให้สัญญาณความถี่ต่ำผ่านไปได้ แต่จะทำการลดขนาดของสัญญาณความถี่สูงออกไป โดยจะยอมให้ความถี่ตั้งแต่ 0 Hz จนถึงความถี่คัต-ออฟ (cut-off frequency; fc) วงจรกรองความถี่จะไม่ให้ผ่านไป

  5. ตัวอย่าง 1 (พิมพ์คำสั่งในหน้าต่าง command) f=zeros(256,256) %สร้างแมทริกซ์ขนาด 256*256 f(80:180,80:180)=1; %สร้างแมทริกซ์สีขาวตรงกลางภาพพื้นสีดำ figure,imshow(f); %แสดงรูปสี่เหลี่ยมขาวบนพื้นสีดำ

  6. %ทำการคำนวณ fftและแสดงแมกนิจูด F=fft2(double(f)); %คำสั่งแปลงฟูเรียร์ 2 มิติ figure,imshow(abs(fftshift(F))); %คำสั่งคำนวณค่าแมกนิจูดและเลื่อนค่าแมกนิจูดสูงสุดมาอยู่ตรงกลางภาพและแสดงภาพแมกนิจูด

  7. %สร้างตัวกรองความถี่ต่ำผ่านแบบอุดมคติ%สร้างตัวกรองความถี่ต่ำผ่านแบบอุดมคติ [M N]=size(f); D0=40; % ค่าความถี่คัต-ออฟ สามารถเปลี่ยนค่าตัวเลขได้ u=0:(M-1); v=0:(N-1); dx=find(u>M/2); u(dx)=u(dx)-M; dy=find(v>N/2); v(dy)=v(dy)-N; [V,U]=meshgrid(v,u); D=sqrt(U.^2+V.^2); %สมการตัวกรองความถี่ต่ำผ่านแบบอุดมคติ H=double(D<=D0); %ค่าตัวกรองความถี่ต่ำแบบอุดมคติ

  8. figure, imshow(fftshift(H)); %แสดงภาพที่เลื่อนค่าแมกนิจูดมาอยู่ตรงกลาง figure,mesh(u,v,H); %แสดงภาพ 3 มิติของตัวกรอง

  9. %ทำการกรองภาพด้วยตัวกรองความถี่ต่ำผ่านแบบอุดมคติ และทำการแปลงกลับ FFT G=H.*F; %คูณตัวกรองความถี่ต่ำผ่านแบบอุดมคติเข้ากับภาพดั้งเดิม g=real(ifft2(double(G))); %แปลงกลับ FFT ด้วยคำสั่ง ifft2 figure, imshow(g);

  10. ตัวอย่าง 2 (พิมพ์คำสั่งในหน้าต่าง command) x=imread(reru.jpg); [M N ]=size(x); % หาขนาดภาพ figure(1),imshow(x); %แสดงภาพ ให้สังเกตดูภาพที่ได้ F=fft2(double(x)); %คำสั่งแปลงฟูเรียร์ 2 มิติ figure(x),imshow(abs(fftshift(F))/256); %คำสั่งคำนวณหาค่าแมกนิจูดและเลื่อนค่าแมนนิจูดสูงสุดมาอยู่ตรงกลางภาพและแสดงภาพแมนนิจูดให้สังเกตดูภาพที่ได้ %สร้างตัวกรองความถี่ต่ำผ่านแบบอุดมคติ D0=40; %ค่าความถี่คัต-ออฟ u=0:(M-1);v=0:(N-1); dx=find(u>M/2);

  11. u(dx)=u(dx)-M; dy=find(v>N/2); v(dy)=v(dy)-N; [V,U] = meshgrid(v,u); % สร้างกราฟ D=sqrt(U.^2+V.^2); H=double(D<=D0); %ตัวกรองความถี่ต่ำผ่านแบบอุดมคติ figure(3),imshow(fftshift(H)); % %ทำการกรองภาพด้วยตัวกรองความถี่ต่ำผ่านแบบอุดมคติ และทำการแปลงกลับ FFT G=H.*F; G=real(ifft2(double(G))); Figure(4),imshow(g); %แสดงภาพ ให้สังเกตภาพที่ได้

More Related