1 / 27

แนวทางการบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

แนวทางการบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556. ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ ก.พ.ร. การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550.

Download Presentation

แนวทางการบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการบูรณาการแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ ก.พ.ร.

  2. การบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กำหนดให้รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน โดยการจัดระบบการบริหารราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นให้มีขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ชัดเจน เหมาะสมแก่การพัฒนาประเทศ และสนับสนุนให้จังหวัดมีแผนและงบประมาณเพื่อพัฒนาจังหวัด เพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ มาตรา 78 (2) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550ที่แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 53/1 ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคหรือราชการบริหารส่วนกลางและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้งผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดตามวรรคหนึ่ง จำนวนและวิธีการสรรหาผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชนตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา เมื่อประกาศใช้แผนพัฒนาจังหวัดแล้ว ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการดำเนินกิจการของส่วนราชการและหน่วยงานอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทำในพื้นที่จังหวัดต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัดดังกล่าว มาตรา 55/1 มาตรา 53/2 ให้นำความในมาตรา 53/1 มาใช้บังคับกับการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดด้วยโดยอนุโลม ในจังหวัดหนึ่งนอกจากกรุงเทพมหานคร ให้มีคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่า “ก.ธ.จ.” ทำหน้าที่สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัดให้ใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีและเป็นไปตามหลักการที่กำหนดไว้ในมาตรา 3/1 มาตรา 55/1

  3. การพัฒนาโดยยึดพื้นที่การพัฒนาโดยยึดพื้นที่ • แผนพัฒนาจังหวัด/ • กลุ่มจังหวัด • ยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัด-ค่าเป้าหมาย • กลยุทธ์ • โครงการ ผู้ว่าราชการจังหวัด(แกนประสาน) การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ ผ่านกลไก ก.บ.จ./ก.บ.ก. และการประชุมปรึกษาหารือ ตาม ม. 53/1 วรรคสอง

  4. การบริหารกิจการบ้านเมืองแบบมีส่วนร่วมการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบมีส่วนร่วม CollaborativeGovernance ราชการบริหารส่วนกลาง Vertical (Multi-level) Governance ภาคประชาสังคม ชุมชน ประชาชน ราชการบริหาร ส่วนภูมิภาค ภาคเอกชน Horizontal Governance Horizontal Governance ราชการบริหาร ส่วนท้องถิ่น

  5. สรุปประเด็นยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 • เกษตรปลอดภัย • ท่องเที่ยววัฒนธรรม • เกษตรแปรรูป • ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ • เกษตรแปรรูป • ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 16 15 • ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ • โลจิสติกส์ • เกษตรข้าวหอมมะลิ+โค • ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 17 11 10 • ท่องเที่ยว • โลจิสติกส์ • เกษตรข้าว+อ้อย+มัน • เกษตร ข้าวหอมมะลิ + มันสำปะหลัง • ท่องเที่ยว • อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ไหมไทย 18 14 12 13 4 2 • เกษตรอุตสาหกรรม • ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 3 • เกษตรข้าวหอมมะลิ • อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรและพลังงานทดแทน 1 5 • เกษตรปลอดภัย • ท่องเที่ยวประวัติศาสตร์ 9 • เกษตรข้าวหอมมะลิ • ท่องเที่ยว • เกษตรแปรรูป • ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ • อุตสาหกรรมชุมชน • เกษตรปลอดภัย • ท่องเที่ยว • อุตสาหกรรม • โลจิสติกส์ 6 7 • เกษตร ผลไม้เมืองร้อน • ท่องเที่ยว แทนด้านเกษตร • เกษตรแปรรูป • ท่องเที่ยวเชิงนิเวศ • เกษตรยางพารา + ปาล์ม • ท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝั่ง • โลจิสติกส์ 8 แทนด้านท่องเที่ยว แทนด้านอุตสาหกรรม • ท่องเที่ยวทางทะเล แทนด้านโลจิสติกส์ • เกษตร - ยางพารา

  6. ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ : พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์วัฒนธรรมและสุขภาพ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ตัวชี้วัด : • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้ • จากการท่องเที่ยว • (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี) คำของบประมาณปี พ.ศ. 2555 ของกลุ่มตามประเด็นยุทธศาสตร์ฯจำนวน 38,800,000 บาท ประกอบด้วย 1. โครงการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวของกลุ่มฯ (26,000,000 บาท) 2. จัดงานมหัศจรรย์การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติบำบัดกอล์ฟแอนด์สปา (The Miracle Thailand) ของกลุ่มฯ เชื่อมโยงกับประเทศ GMS (3,000,000 บาท) 3. โครงการการดูร์ เดอ ล้านนาตะวันออก : ขยายผลโครงข่ายการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพกลุ่มฯ (9,800,000 บาท)

  7. ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ : การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การผลิตภาคการเกษตร กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนกลาง ตัวชี้วัด : • ผลผลิตต่อไร่ที่เพิ่มขึ้น • มูลค่าและรายได้จากผลผลิต • ภาคการเกษตรที่เพิ่มขึ้น คำของบประมาณปี พ.ศ. 2555 ของกลุ่มตามประเด็นยุทธศาสตร์ฯจำนวน 492,772,800 บาท ประกอบด้วย 1. โครงการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรทั้งในและนอกเขตชลประทานในพื้นที่ลุ่มน้ำหลัก (รวม 26 โครงการย่อย งบประมาณ 395,981,600 บาท) 2. โครงการส่งเสริมคุณภาพการผลิตภาคการเกษตร (รวม 4 โครงการย่อย งบประมาณ 81,215,000 บาท) 3. โครงการพัฒนาปัจจัยการผลิตภาคการเกษตร (รวม 5 โครงการย่อย งบประมาณ 15,576,200 บาท)

  8. Value Chain ของการผลักดันยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตร ตัวอย่าง การพัฒนาระบบการตลาด การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานฯ การเพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพ การผลิต การพัฒนา เกษตรกรและสถาบัน เกษตรกร การแปรรูป เพิ่มและสร้าง คุณค่า วิจัยและ พัฒนา กระทรวง กรม จังหวัด องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ชุมชน/ เอกชน 8

  9. งบประมาณเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดงบประมาณเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด กระทรวง กรม งบ Function • แผนพัฒนาจังหวัด/ • กลุ่มจังหวัด • ยุทธศาสตร์ • เป้าประสงค์ • ตัวชี้วัด-ค่าเป้าหมาย • กลยุทธ์ • โครงการ จังหวัด/กลุ่มจังหวัดงบ Area การลงทุนของภาคเอกชน งบ อปท. ตามความสมัครใจ

  10. มติของ ก.น.จ. (วันที่ 26 กันยายน 2554) มีมติเห็นชอบรวม 2 เรื่อง ดังนี้  หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด และการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 แนวทางการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างจังหวัดกับ ส่วนราชการ และกับท้องถิ่น ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี ประธาน ก.น.จ.  สำหรับลักษณะโครงการที่ไม่ควรเสนอเป็นคำของบประมาณจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด และหลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556อ.ก.น.จ.ฯ จะได้พิจารณาในรายละเอียดและนำเสนอแนวทางในการประชุม ก.น.จ. ครั้งต่อไป

  11. แนวทางและหลักเกณฑ์การพิจารณาทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556  มติ ก.น.จ. วันที่ 26 ก.ย. 54 : หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

  12. แนวทางและหลักเกณฑ์การพิจารณาทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556  มติ ก.น.จ. วันที่ 26 ก.ย. 54 : หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ) ให้นำนโยบายของคณะรัฐมนตรี ที่แถลงต่อสภา เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2554 มาเป็นกรอบในการจัดทำโครงการ ลักษณะโครงการที่จะนำมาจัดทำเป็นคำของบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

  13. แนวทางและหลักเกณฑ์การพิจารณาทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556  มติ ก.น.จ. วันที่ 26 ก.ย. 54 : หลักเกณฑ์และแนวทางในการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ)

  14. มติ ก.น.จ. วันที่ 26 ก.ย. 54 : แนวทางการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างจังหวัดกับส่วนราชการ และกับท้องถิ่น ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี ประธาน ก.น.จ.  แนวทางการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างจังหวัดกับส่วนราชการ และกับท้องถิ่น ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี ประธาน ก.น.จ. จัดประชุมร่วมระหว่างจังหวัด กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อบูรณาการการทำงาน/ โครงการร่วมกัน จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาผู้นำการ บริหารการเปลี่ยนแปลง” (CEO Retreat) มอบหมายให้ทีมบูรณาการกลาง (สงป. สศช. มท. และสำนักงาน ก.พ.ร.) ประสานกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อ จัดประชุมร่วมกันกับจังหวัด และ อปท. เพื่อบูรณาการการทำงาน/ โครงการร่วมกัน โดยในระยะแรก ให้นำร่องในภารกิจ 4 ด้าน คือ ด้านน้ำ ด้านทาง ด้านการเกษตร และด้านการท่องเที่ยว เพื่อจะได้รูปแบบ และนำไปขยายผลในภารกิจด้านอื่นต่อไป เป็นการจัดประชุมร่วมระหว่างจังหวัด/ กลุ่มจังหวัด (Area) กับส่วนราชการ (Function) เพื่อบูรณาการโครงการ ที่จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ขอรับการ สนับสนุนงบประมาณจากส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

  15. มติ ก.น.จ. วันที่ 26 ก.ย. 54 : แนวทางการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างจังหวัดกับส่วนราชการ และกับท้องถิ่น ตามนโยบายของนายกรัฐมนตรี ประธาน ก.น.จ. (ต่อ)  Value Chains เกษตร ถนน น้ำ ท่องเที่ยว พัฒนาการบริหารจัดการและปัจจัยพื้นฐาน พัฒนา การตลาด การให้ บริการ วิจัยและ พัฒนา พัฒนาผลิตภัณฑ์ การขาย แผนกระทรวง กรม A จังหวัด/ กลุ่มจังหวัด F บูรณาการแผน ที่จะทำงาน ในพื้นที่ร่วมกัน L อปท. กระทรวง กรมนำแผนฯ ไปแจ้งหน่วยงานในพื้นที่

  16. ปฏิทินการจัดกิจกรรมการบูรณาการปฏิทินการจัดกิจกรรมการบูรณาการ ประชุมชี้แจงจังหวัด/กลุ่มจังหวัดผ่านระบบวีดีทัศน์ทางไกลของ มท. (รมต.สร (นายสรุวิทย์ คนสมบูรณ์) เป็นประธาน) 23 พ.ย. 54 ทีมบูรณาการกลางจัดประชุมร่วมกับส่วนราชการ (สำนักนโยบาย และแผน) เฉพาะส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องน้ำ ถนน การเกษตร และท่องเที่ยว 7 ธ.ค. 54 ทีมบูรณาการกลางจัดประชุมร่วมกับจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับตัวอย่างที่ดีและที่ไม่ดีในการเขียนโครงการและคำของบประมาณ 14 ธ.ค. 54 ประชุม ก.น.จ. นัดพิเศษผ่านระบบวีดีทัศน์ทางไกลของ มท. โดยเชิญ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องน้ำ ถนน การเกษตร และท่องเที่ยวมานำเสนอแผนงาน/โครงการของส่วนราชการที่จะดำเนินการในพื้นที่ จังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556(นรม. เป็นประธาน) 23 ธ.ค. 54 จัดประชุมร่วมระหว่างจังหวัด/กลุ่มจังหวัดกับส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องน้ำ ถนน การเกษตร และท่องเที่ยว เพื่อบูรณาการแผนงาน/โครงการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 5 - 6ม.ค. 55

  17. ความเห็นของ อ.ก.น.จ. เกี่ยวกับการพัฒนาระบบการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (วันที่ 17 พฤศจิกายน 2554) ได้พิจารณาในเรื่องที่ยังค้างการพิจารณาเพื่อนำเสนอ ก.น.จ. รวม 2 เรื่อง ดังนี้  หลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556  ลักษณะโครงการที่ไม่ควรเสนอเป็นคำของบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

  18. ความเห็น อ.ก.น.จ. ฯ วันที่ 17 พ.ย. 54 : หลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ) คงเดิม  กรอบงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ที่ประชุมเห็นว่ายังไม่สามารถกำหนดกรอบงบประมาณได้ในขณะนี้ แต่ในเบื้องต้นให้ใช้กรอบงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 จำนวน 18,200 ล้านบาท โดยเป็นงบของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด 18,170 เป็นฐาน ในการคำนวณเงินงบประมาณไปก่อน และอีก 30 ล้านบาท เป็นงบสำหรับทีมบูรณาการกลาง   งบบริหารจัดการจังหวัด/กลุ่มจังหวัด กำหนดสัดส่วนระหว่างงบประมาณ กลุ่มจังหวัดและงบประมาณจังหวัด จังหวัดละ 10 ล้านบาท กลุ่มจังหวัดละ 5 ล้านบาท (รวมวงเงิน 850 ล้านบาท)เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ 1) การจัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดกับภาคส่วนต่างๆ ตามมาตรา 53/1 และมาตรา 53/2 แห่ง พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฯ 2) การจัดประชุมคณะกรรมการ ก.บ.จ./ ก.บ.ก. 3) การศึกษาเพื่อพัฒนายุทธศาสตร์จังหวัด/กลุ่มจังหวัด 4) การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในจังหวัดฯ 5) การพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เช่น การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ ก.บ.จ./ก.บ.ก. บุคลากร การจัดทำระบบฐานข้อมูล ฯลฯ 6) การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ภาคส่วนต่างๆ เพื่อเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำแผนฯ รวมทั้งเพื่อสนับสนุนในการขับเคลื่อนการดำเนินการตามแผน 7) การติดตามประเมินผล จังหวัด กลุ่มจังหวัด 30% 70% (5436 ล้านบาท) (12,734 ล้านบาท)

  19. ความเห็น อ.ก.น.จ. ฯ วันที่ 17 พ.ย. 54 : หลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ)  กรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัด ( 12,734 ล้านบาท) คงเดิม 10% จัดสรรตามคุณภาพของแผน 20% จัดสรรตามจำนวนประชากรของในแต่ละจังหวัด 10% 10% จัดสรรตาม GPP 20% 10% 20% 20% จัดสรรเฉลี่ยเท่ากัน ทุกจังหวัด 40% จัดสรรตามความผกผันของรายได้ต่อครัวเรือนในแต่ละจังหวัด 40%

  20. ความเห็น อ.ก.น.จ. ฯ วันที่ 17 พ.ย. 54 : หลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ)  กรอบการจัดสรรงบประมาณกลุ่มจังหวัด ( 5,436 ล้านบาท) คงเดิม วงเงิน 5,436 ล้านบาท โดยประมาณการกรอบวงเงินเบื้องต้นกำหนดไว้ที่กลุ่มจังหวัดละ 150 ล้านบาท ซึ่งในการพิจารณาจัดสรรไม่จำเป็นจะต้องจัดสรรให้กลุ่มจังหวัดแต่ละกลุ่มเท่ากันขึ้นอยู่กับผลการพิจารณาคุณภาพของแผนพัฒนา กลุ่มจังหวัด * กรณีได้รับคะแนนคุณภาพแผนเท่ากันทุกกลุ่ม

  21. ความเห็น อ.ก.น.จ. ฯ วันที่ 17 พ.ย. 54 : หลักเกณฑ์และแนวทางการกำหนดกรอบการจัดสรรงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 (ต่อ) หลักเกณฑ์การพิจารณาคุณภาพแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556

  22. ความเห็น อ.ก.น.จ. ฯ วันที่ 17 พ.ย. 54 : ลักษณะโครงการที่ไม่ควรเสนอเป็นคำของบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด  ลักษณะโครงการที่ไม่ควรเสนอขอเป็นคำของบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

  23. ข้อสังเกตของ อ.ก.น.จ.ฯ

  24. สรุปบทเรียน การจัดทำแผนงาน/โครงการ ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

  25. ลักษณะโครงการที่ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 • รายละเอียดโครงการไม่ชัดเจน • ขาดรายละเอียดกิจกรรม/กิจกรรมไม่ชัดเจน • ไม่ระบุแนวทาง/วิธีการดำเนินงาน • ไม่ระบุพื้นที่ดำเนินการ • พื้นที่ดำเนินโครงการยังไม่ได้รับอนุญาตจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • รายละเอียดการใช้งบประมาณไม่เหมาะสม • ไม่มีรายละเอียดวิธีการบริหารโครงการ/ผู้รับผิดชอบโครงการ • ชื่อโครงการไม่สื่อความหมายถึงวัตถุประสงค์/เป้าหมายโครงการ • โครงการไม่สอดคล้องกับศักยภาพการพัฒนาหรือสภาพพื้นที่จังหวัด เช่น  โครงการขยายพื้นที่ในการปลูกปาล์มน้ำมัน /โครงการส่งเสริมการปลูกยางพาราในพื้นที่บางแห่ง ฯลฯ • โครงการไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์แนวทางของ ก.น.จ. • เป็นการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ หรือครุภัณฑ์เพื่อแจกจ่าย และ/หรือจัดจ้างบุคลากร • โครงการที่ไม่คุ้มค่ากับการลงทุน • มีวัตถุประสงค์หลักเกี่ยวกับการศึกษา ฝึกอบรม ศึกษาดูงานต่างประเทศ และ/หรือไม่มีข้อตกลงกับหน่วยงาน/องค์กรต่างประเทศในการดำเนินงานร่วมกัน • โครงการที่เป็นงบผูกพันไม่สามารถดำเนินการแล้วเสร็จภายใน 1 ปี • เป็นโครงการที่ควรใช้งบบริหารของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด เช่น • โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัด • โครงการพัฒนาระบบเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลข่าวสารเพื่อบริการประชาชน ฯลฯ • เป็นภารกิจประจำของส่วนราชการ  เป็นโครงการซึ่งเป็นภารกิจปกติของส่วนราชการที่ต้องดำเนินการอยู่แล้ว

  26. ลักษณะโครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 • ข้อมูลทั่วไป/หลักการและเหตุผลของโครงการชัดเจน • สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัด • สอดคล้องกับศักยภาพการพัฒนาหรือแก้ปัญหาสำคัญของจังหวัด • กำหนดเป้าหมาย ผลผลิต ผลลัพธ์ แนวทางการดำเนินงานและกิจกรรมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการ • โครงการมีกิจกรรมหลากหลายในลักษณะบูรณาการ และมีกิจกรรมหลักที่แสดงให้เห็นว่าสามารถขับเคลื่อนให้บรรลุเป้าหมาย ผลลัพธ์ของโครงการได้ • มีความพร้อมในการดำเนินโครงการ • ระบุวิธีการบริหารจัดการ และการดูแลบำรุงรักษาเมื่อโครงการแล้วเสร็จ • ดำเนินการแล้วเสร็จได้ภายใน 1 ปี โดยไม่ก่อให้เกิดงบผูกพันข้ามปี

  27. ฝ่ายเลขานุการ ก.น.จ. We invite you to come and use our professional photo lab services, and then... stay. Sip a capuccino, view our latest gallery showing or browse through our collection of photography books and magazines. Fine Art and Stock Photography Gallery – abstract impressionism, and realism in black and white, portraits, travel, landscape and digital photography. Welcome to our company. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 59 ถนนพิษณุโลก แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 0 2356 9999www.opdc.go.th

More Related