1 / 22

กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต

ใน 8 สาระการเรียนรู้ อุบล วรรณ แสนมหายักษ์. กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต. กิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะชีวิต. มีสาระเรื่องราวสถาการณ์ คำถามคิดวิเคราะห์เชื่อมโยงสู่การใช้ชีวิตผู้เรียน มีส่วนร่วม คิด พูด วิพากษ์วิจารณ์ ทำ สร้างสรรค์. คำถามที่เสริมสร้างทักษะชีวิต. คำถาม

varick
Download Presentation

กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ใน 8 สาระการเรียนรู้ อุบลวรรณ แสนมหายักษ์ กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต

  2. กิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะชีวิตกิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะชีวิต • มีสาระเรื่องราวสถาการณ์ • คำถามคิดวิเคราะห์เชื่อมโยงสู่การใช้ชีวิตผู้เรียน • มีส่วนร่วม คิด • พูด วิพากษ์วิจารณ์ ทำ สร้างสรรค์

  3. คำถามที่เสริมสร้างทักษะชีวิตคำถามที่เสริมสร้างทักษะชีวิต คำถาม R = Reflect = สะท้อน C = Connect = เชื่อมโยง A = Apply = ปรับใช้

  4. คำถามR : Reflect : การสะท้อน ลักษณะคำถาม R – C – A เป็นคำถามที่ให้ผู้เรียนได้สะท้อนความรู้สึกหรือมุมมองของตนเองที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติกิจกรรม เป็นการถามถึงสิ่งที่ผู้เรียนสังเกตเห็น มองเห็น สัมผัสได้ หรือถามถึงความรู้สึกของผู้เรียนที่เกิดขึ้นขณะร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในกิจกรรมครั้งนั้น ๆ (ปัจจุบันนั้น)

  5. ตัวอย่าง “ในขณะทำกิจกรรม มีคำพูดใดบ้างที่ทำให้นักเรียนสบายใจ ทำไมจึงรู้สึกอย่างนั้น” “ในขณะฟังข่าว เธอเชื่อทันทีหรือไม่ เพราะเหตุใด” “ปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียนวันนี้ เกิดจากสาเหตุใด” “มีความรู้สึกอย่างไรที่ได้รับมอบหมายจากเพื่อนให้ไปรายงานหน้าชั้นเรียน”

  6. คำถามC : Connect : เชื่อมโยง เป็นคำถามที่ให้ผู้เรียนได้นึกย้อนความรู้ ประสบการณ์ที่เคยมีมาก่อน (ความรู้ / ประสบการณ์เดิม) แล้วนำมาเชื่อมโยงกับความรู้ ความคิด หรือประสบการณ์ ที่เกิดจากการเรียนรู้ในชั่วโมงเรียนนั้น

  7. กิจกรรมที่ 2 กลุ่มวิเคราะห์เพื่อจำแนกประเภทของคำถาม สะท้อน : Reflect ประยุกต์ : Connect ปรับใช้ : Apply

  8. การใช้คำถาม R-C-A *ใช้คำถามการสนทนา “ชวนคิดชวนคุย” หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมการเรียนรู้ *ประเด็นคำถามนำไปสู่การพัฒนา/สร้างทักษะชีวิต (พฤติกรรมทักษะชีวิต 4 องค์ประกอบ”

  9. นักเรียนรู้สึกอย่างไรที่ถูกรบกวนในขณะทำงานนักเรียนรู้สึกอย่างไรที่ถูกรบกวนในขณะทำงาน - ฟังเพลง - อ่านหนังสือ - จดบันทึก ฯลฯ ประเด็นคำถามต้องถามต่อเนื่องสู่พฤติกรรมทักษะชีวิต พฤติกรรมใด พฤติกรรมหนึ่ง C : Connect R : Reflect A : Apply ที่ผ่านๆ มา นักเรียนเคยทำงานไม่สำเร็จ เพราะถูกรบกวน/ มีสิ่งอื่นมารบกวนบ้างหรือไม่ ถ้าเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวกับนักเรียนอีก จะมีวิธีจัดการหรือแก้ไขปัญหาการถูกเพื่อนรบกวนนั้นอย่างไร (โดยไม่เสียสัมพันธภาพและงานของเราก็สำเร็จด้วย) การควบคุมตนเอง

  10. ในระหว่างทำงาน นักเรียนรู้สึกว่ามีปัญหาระหว่างเพื่อนหรือไม่ C : Connect R : Reflect A : Apply ที่ผ่านมานักเรียนเคยมีปัญหาที่เกิดจากการไม่พอใจคำพูดของเพื่อนหรือไม่ คำพูดนั้นว่าอย่างไร ในโอกาสต่อไป ถ้ารู้ว่าเพื่อนน้อยใจ เสียใจจากคำพูดของเรา นักเรียนจะปฏิบัติต่อเพื่อนอย่างไร รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา

  11. ในกลุ่มของนักเรียนมีวิธีการเลือกผู้นำกลุ่มอย่างไรในกลุ่มของนักเรียนมีวิธีการเลือกผู้นำกลุ่มอย่างไร C : Connect R : Reflect A : Apply ที่ผ่านๆ มา นักเรียนเคยมีโอกาสเลือกผู้นำหรือไม่ เลือกอย่างไร ถ้านักเรียนมีโอกาสได้เป็นผู้นำ นักเรียนจะมีวิธีการทำงานอย่างไร • การเป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดี • การเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น

  12. ตัวอย่าง วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ความผิดปกติและโรคทางพันธุกรรม 1.มาตรฐานการเรียนรู้ (ว.1.2) 2.ตัวชี้วัด อภิปรายโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

  13. 3.จุดประสงค์การเรียนรู้3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จำแนกและอธิบายความผิดปกติของพันธุกรรม/โครโมโซม 3.2 สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างความผิดปกติ

  14. 4. สาระเนื้อหา 4.1 ความผิดปกติทางพันธุกรรม 4.2 โรคทางพันธุกรรม 5. ชิ้นงาน - แฟ้ม ความรู้เกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรม

  15. 6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 สนทนา ทบทวนบทเรียนเรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 6.2 แบ่งกลุ่มศึกษา สืบค้น เรื่องความผิดปกติ/โรคทางพันธุกรรม

  16. 6.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลจากการสืบค้น 6.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติทางโรคโมโซมแบบต่าง ๆ กลุ่มละ 1 โรค (อาการ สาเหตุ การรักษา วิธีการที่ผู้ป่วยใช้ชีวิต ฯลฯ)

  17. 6.5 นำข้อมูลมาทำแฟ้มโรคทางพันธุกรรม รูปแบบต่าง ๆ (E – book, หนังสือ, รูปภาพประกอบบทความ ฯลฯ) 6.6 แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ รูปแบบพื้นฐาน 6.7 สรุปความรู้ร่วมกัน

  18. คำถาม R “นักเรียนรู้สึกกังวล เป็นทุกข์ ท้อในการสืบค้นข้อมูล บ้างหรือไม่” “ถ้าหากเราปล่อยให้เกิดทุกข์ใจบ่อย ๆ ท้อแท้บ่อย ๆ จะเกิดอะไร ขึ้นกับตัวเรา” C ในสถานการณ์ที่ผ่าน ๆ มา เคยมีเหตุการณ์อะไรบ้างที่ตนเองหรือบุคคล อื่นมีความสุข A ในโอกาสต่อไปถ้านักเรียนเป็นทุกข์ หรือรู้สึกเครียด จะมีวิธีคลายเครียด ให้กับตนเอง หรือสร้างสุขให้กับตนเองและคนรอบข้างอย่างไรบ้าง?

  19. กิจกรรมที่ 3 ฝึกการตั้งคำถาม R–C–Aในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

  20. พฤติกรรมทักษะชีวิตเป็นอย่างไร? จะจัดกิจกรรมอย่างไร ใช้สื่ออะไร สร้างทักษะชีวิต?   มีสิ่งใดที่บ่งบอกว่า “ผู้เรียน” มีทักษะชีวิต?

  21. สวัสดีค่ะ

More Related