1 / 75

ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการระดับสูง

ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการระดับสูง. โดย ดร. อำนวย ถิฐาพันธ์ ศาสตราจารย์ งานบริการวิชาการและวิจัย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. Bernard B. Brodie. J. Axelrod. T. Amnuay. การก้าวสู่ตำแหน่งทางวิชาการ. เตรียมใจ เตรียมตัว เตรียมงาน. บรรจง มไหสวริยะ. เตรียมใจ.

verne
Download Presentation

ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการระดับสูง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการระดับสูง โดย ดร. อำนวย ถิฐาพันธ์ ศาสตราจารย์ งานบริการวิชาการและวิจัย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

  2. Bernard B. Brodie J. Axelrod T. Amnuay

  3. การก้าวสู่ตำแหน่งทางวิชาการการก้าวสู่ตำแหน่งทางวิชาการ • เตรียมใจ • เตรียมตัว • เตรียมงาน บรรจง มไหสวริยะ

  4. เตรียมใจ • เข้าใจความหมาย • เห็นด้วยกับวิธีการ • ลดอคติ • ให้ความสำคัญ • กำหนดจุดหมาย • สร้างความมุ่งมั่น

  5. เตรียมตัว • จัดลำดับความสำคัญ • แบ่งสรรเวลา • ศึกษากฎระเบียบ • เปรียบเทียบพวกพ้อง • ลองถามผู้รู้ • สู้ไม่รู้ถอย

  6. เตรียมงาน • งาน: สื่อการสอน, งานวิจัย, สิ่งประดิษฐ์ • ปริมาณ • คุณภาพ

  7. หลักเกณฑ์และวิธีการการพิจารณกำหนดตำแหน่งทางวิชาการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการการพิจารณกำหนดตำแหน่งทางวิชาการสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

  8. วิธีการขอ ศาสตราจารย์ วิธีที่ 1 ดีมาก 1. เสนอ ตำรา และ 2. งานวิจัย หรือ 3. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น วิธีที่ 2 ดีเด่น 1. เสนอ ตำรา หรือ 2. งานวิจัย หรือ 3. ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

  9. คำจำกัดความผลงานทางวิชาการตำราหมายถึง เอกสารทางวิชาการที่เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ อาจเขียนเพื่อตอบสนองเนื้อหาทั้งหมดของรายวิชา หรือส่วนหนึ่งของวิชา หรือหลักสูตรก็ได้ โดยมีการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง และสะท้อนให้เห็นความสามารถในการถ่ายทอดวิชาในระดับอุดมศึกษา ในบางกรณีผู้เขียนอาจเสนอตำรามาในรูปของสื่ออื่นๆ เช่น ซีดีรอม หรือ อาจใช้ทั้งเอกสารและสื่ออื่นๆ ประกอบกันตามความเหมาะสม

  10. คำจัดกัดความผลงานทางวิชาการหนังสือหมายถึงเอกสารทางวิชาการที่เขียนขึ้นเพื่อเผยแพร่ความรู้ไปสู่วงวิชาการและ/หรือผู้อ่านทั่วไป โดยไม่จำเป็นต้องเป็นไปตามข้อกำหนดของหลักสูตร หรือต้องนำมาประกอบการเรียนการสอนในวิชาใดวิชาหนึ่ง ทั้งนี้ จะต้องเป็นเอกสารที่เรียบเรียงขึ้นอย่างมีเอกภาพ มีรากฐานทางวิชาการที่มั่นคงและให้ทัศนะของผู้เขียนที่สร้างเสริมปัญญาความคิด และสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการให้แก่สาขาวิชานั้นๆ และ/หรือ สาขาวิชาที่เกี่ยวเนื่อง

  11. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานทางวิชาการตำรา หรือหนังสือ จะต้องได้รับการตีพิมพ์เป็นรูปเล่มจากโรงพิมพ์หรือสำนักพิมพ์ หรือถ่ายสำเนาเย็บเล่ม หรือจัดทำในรูปของสื่ออื่นๆที่เหมาะสมซึ่งได้นำไปใช้ในการเรียนการสอน และได้รับการเผยแพร่มาแล้ว อย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา ก่อนนำเสนอ ก.ม.

  12. ตำรา ดี เป็นตำราที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการถูกต้องสมบูรณ์ และทันสมัย มีแนวคิดและการนำเสนอที่ชัดเจนเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา

  13. ตำรา ดีมาก ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดี โดยมีข้อกำหนดด้านคุณภาพเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้1. มีการสังเคราะห์และเสนอความรู้หรือวิธีการที่ทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการและเป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการ2. มีการสอดแทรกความคิดริเริ่มและประสบการณ์หรือผลงานวิจัยที่เป็นการแสดงให้เห็นถึงความรู้ใหม่ ที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน3. สามารถนำไปใช้เป็นแหล่งอ้างอิงหรือนำไปปฏิบัติได้

  14. ตำรา ดีเด่น ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดีมาก โดยมีข้อกำหนดด้านคุณภาพเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้1. มีลักษณะเป็นงานบุกเบิกทางวิชาการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง2. มีการกระตุ้นให้เกิดความคิดและค้นคว้าต่อเนื่อง3. เป็นที่เชื่อถือและยอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพที่ เกี่ยวข้องในระดับชาติและ/หรือระดับนานาชาติ

  15. หนังสือ ดี เป็นหนังสือที่มีเนื้อหาสาระทางวิชาการถูกต้องสมบูรณ์ และทันสมัย มีแนวคิดและการนำเสนอที่ชัดเจนเป็นประโยชน์ต่อวงวิชาการ

  16. ดีมาก หนังสือ ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดี โดยมีข้อกำหนดด้านคุณภาพเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้1. มีการสังเคราะห์และเสนอความรู้หรือวิธีการที่ทันต่อ ความก้าวหน้าทางวิชาการและเป็นประโยชน์ต่อวง วิชาการ2. มีการสอดแทรกความคิดริเริ่มและประสบการณ์หรือ ผลงานวิจัย ที่เป็นการแสดงให้เห็นถึงความรู้ใหม่ที่เป็น ประโยชน์ต่อวงวิชาการ3. สามารถนำไปใช้เป็นแหล่งอ้างอิงหรือนำไปปฏิบัติได้

  17. หนังสือ ดีเด่น ใช้เกณฑ์เดียวกับระดับดีมาก โดยมีข้อกำหนดด้านคุณภาพเพิ่มเติม ดังต่อไปนี้1. มีลักษณะเป็นงานบุกเบิกทางวิชาการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง2. มีการกระตุ้นให้เกิดความคิดและค้นคว้าต่อเนื่อง3. เป็นที่เชื่อถือและยอมรับในวงวิชาการหรือ วิชาชีพที่เกี่ยวข้องในระดับชาติและ/หรือระดับนานาชาติ

  18. ลักษณะของตำราหรือหนังสือลักษณะของตำราหรือหนังสือ 1.มีครบทุกหัวข้อของตำราหรือหนังสือที่ดี - ชื่อตำรา/หนังสือ (พิมพ์ครั้งที่?) - ผู้นิพนธ์/ บรรณาธิการ(พร้อมทั้งคุณวุฒิ) - บริษัทที่พิมพ์(พร้อมทั้งที่อยู่/ และปีที่พิมพ์) - ISBN และการสงวนลิขสิทธิ์ - คำนำคำนิยม(ถ้ามี)

  19. - สารบัญ - ดัชนี(ทั้งไทยและอังกฤษ) 2. เนื้อหามีความทันสมัยมากสามารถนำไปอ้างอิงได้โดยพิจารณาได้จากตำราหรือเอกสารอ้างอิง ......ไม่ควรจะล้าหลังเกิน 3-5 ปี 3. มีความคงเส้นคงวา(Consistency)ในการใช้ภาษาไทย

  20. - Fluid = สารน้ำ, ของไหล(ไม่ใช่ของเหลว) - ร้อยละ 50 ( ไม่ใช่ 50%) - แผนภาพ= Diagram - แผนภูมิ = Chart - อาเจียน(ไม่ใช่อาเจียร) - เอนไซม์(ไม่ใช่เอ็นซัยม์)

  21. - ปวดศีรษะปวดหัว • ความดันเลือดความดันโลหิตแรงดันโลหิต • ท้องเสียท้องร่วง(ถูกทั้ง2 คำ) • 4. ใช้คำศัพท์ถูกต้องตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2542เช่น: • - คลินิก(ไม่ใช่คลีนิค) • - หลอดเลือดฝอย(ไม่ใช่เส้นเลือดฝอย)

  22. 5. อ่านง่ายเข้าใจง่ายรูปภาพสวยงามและมีคำอธิบายรูปภาพชัดเจน 6. มีการสอดแทรกผลงานและการวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ขอไว้ในตำราด้วย 7. รูปเล่มเย็บสวยงาม

  23. สิ่งที่ไม่ควรทำ1. คัดลอกผลงานของคนอื่นโดยไม่บอกแหล่งที่มาของข้อมูลโดยเฉพาะในรูปภาพตารางหรือแผนภูมิเช่นควรบอกว่า.... คัดลอกมาจากNana B. Finnerup, Soren H. Sirvdrup and Troels S. Jensen: Anticonvulsant analgesics in peripheral and central neuropathic pain. Int J Pain Med&Pall Care, vol 3, No2, p.43,2004

  24. การอ้างอิงสามารถทำได้เป็น 2 แบบคือ:“ เภสัชจลนศาสตร์คือวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับผลของร่างกายที่มีต่อยา” (10)หรือ“ มีความรู้ความสามารถและความชำนาญพิเศษในการสอน....…” 10

  25. ถึงแม้ว่าจะนำเอาข้อมูลของผู้อื่นมาใช้ แล้วนำมาดัดแปลงเป็นรูปภาพ หรือ ตาราง ในตำราของตนเองก็ตาม ก็ยังจำเป็นต้องบอกแหล่งที่มาเช่นกันเช่น ดัดแปลงมาจาก รจนา ศิริศรีโร: โรคกระดูกพรุน และการวินิจฉัยโดยวิธีทางรังสีวิทยาใน สมบุญ เหลืองวัฒนากิจ (บรรณาธิการ): สุขภาพเพศชาย รูปที่ 1 หน้าที่ 103 บริษัท บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จำกัด กรุงเทพมหานคร 2546

  26. 2. ถ่ายสำเนารูปภาพหรือตารางมาจากแหล่งอื่นซึ่งมีขนาดเล็กเกินไปรูปภาพไม่ชัดเจนอ่านเข้าใจยากและขาดการอธิบายในtext3. รูปภาพหรือตารางมีชื่อและคำอธิบายไม่ชัดเจน

  27. 4. ใช้ภาพขาว–ดำแทนที่จะเป็นภาพสีโดยเฉพาะถ้าภาพสีจะสื่อความหมายและความเข้าใจได้ดีมากกว่าเช่น- รูปPie- รูปโรคต่างๆของผิวหนัง(skin diseases )

  28. Non-P450 enzymes CYP3A4 CYP1A1/2 CYP1B1 CYP2A6 CYP2B6 CYP2C8 CYP2C9 CYP2C19 CYP2E1 CYP2D6

  29. 5. การเขียนรูปแบบของ “ เอกสารอ้างอิง” ไม่ครบสมบูรณ์ เช่น ขาดชื่อเรื่อง ขาดรายชื่อของผู้นิพนธ์ (คือบอกไม่ครบ) ควรใช้ “vancouver style ”ในการเขียนเอกสารอ้างอิงทุกอัน เช่นCassell, E.J. : Ann Intern Med 1999; 131: 531-534 (ไม่มีชื่อบทความ)ควรเขียนCassell, E.J : Diagnosis suffering ---- a perspective. Ann Intern Med 1999; 131: 531-534

  30. ตำราดีจะต้องมีลักษณะดังนี้ตำราดีจะต้องมีลักษณะดังนี้ • เนื้อหา สาระครอบคลุมสิ่งที่จะต้องรู้ อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับสมัย • เรียบเรียงลำดับเนื้อหาอย่างมีระบบและเป็นระเบียบ • ภาษาที่ใช้เรียบเรียงเป็นภาษาที่ดี คำย่อต่างๆ ถูกต้อง วรรคตอนเหมาะสมไม่สับสน • มีการอ้างอิงแหล่งที่มาชัดเจน อ้างอิงตามระบบสากลที่ถูกต้อง เหมาะสมกับสาขาวิชานั้นๆ ติดตามค้นหาได้ ประเสริฐ ทองเจริญ 2548

  31. ตำราดีจะต้องมีลักษณะดังนี้ตำราดีจะต้องมีลักษณะดังนี้ • รูปแบบและการพิมพ์ถูกต้อง อ่านง่ายชัดเจน การวางรูปภาพ ตาราง เหมาะสม • หาซื้อไม่ยาก ราคาไม่แพงเกินกว่าที่สามัญชนหรือนักศึกษา จะซื้อหามาอ่านได้ มีแหล่งพิมพ์ โรงพิมพ์ สำนักพิมพ์ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา ตามพระราชบัญญัติ บอกปี พ.ศ. ที่พิมพ์เผยแพร่ มีระหัสสากล ISBNรหัสห้องสมุด • มีบรรณาธิการตรวจสอบความถูกต้องด้านวิชาการและอักขระ ประเสริฐ ทองเจริญ 2548

  32. ปัญหาของตำราที่ทำให้ขาดคุณภาพปัญหาของตำราที่ทำให้ขาดคุณภาพ • ไม่ทันสมัย ไม่ตรงหลักสูตร ไม่มีนวัตกรรม • แปลมาเกือบทั้งหมด ไม่ได้แสดงความเป็นเลิศทางวิชาการ • เรียบเรียงไม่ชัดเจน ขาดความต่อเนื่อง นำไปประยุกต์ใช้ไม่ได้ • เนื้อหาคลาดเคลื่อน ไม่ตรงตามวิชาการ อ้างอิงเอกสารเก่ามาก • ใช้ภาษาพูด • ตำราภาษาไทยแต่ใช้ศัพท์ภาษาอังกฤษมากเกินจำเป็น • ลอกเลียนผลงานผู้อื่น ประเสริฐ ทองเจริญ 2548

  33. การเตรียมตัวก่อนทำตำราการเตรียมตัวก่อนทำตำรา • เขียนเรื่องอะไร • เขียนเพื่อใคร ระดับความรู้ของผู้อ่าน • เขียนเชิงกว้าง หรือเชิงลึก • เขียนคนเดียว หรือหลายคน • แก่น สาระ ของตำรา เป็นอย่างไร • เค้าโครงของตำรา เป็นอย่างไร • จะเสร็จเมื่อใด • จัดสรรเวลา

  34. Title (ชื่อเรื่อง) Dedication (คำอุทิศ) Content (สารบัญ) Foreword (2nd, 1st) คำนิยม Preface(2nd, 1st) (คำนำ) Acknowledgement (กิตติกรรมประกาศ) Contributors (ผู้ร่วมนิพนธ์) Introduction Content Appendix (ภาคผนวก) Glossary(อภิธาน) Bibliography การเรียงลำดับในตำรา

  35. ชื่อ • กระชับ • มีความเฉพาะเจาะจง • สื่อความหมายได้ • Subtitle ใช้ขยายความ

  36. หน้าปกใน • เป็นส่วนที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือ • บรรณารักษ์ใช้ทำบัตรรายการ • สำนักพิมพ์, โรงพิมพ์ • ระหัสสากล ISBN • ลิขสิทธิ์

  37. คำนิยม • ผู้อื่นเขียนให้ • เป็นผู้ที่มีชื่อเสียง เป็นที่รู้จักของคนในวงการนั้น ๆ • แนะนำ ยกย่องหนังสือ • แนะนำผู้เขียน • ชวนให้สนใจ

  38. คำนำ • เขียนแสดงวัตถุประสงค์ แรงจูงใจให้ทำตำรา • กล่าวขอบคุณผู้มีส่วนช่วยเหลือในการทำตำรา

  39. เนื้อหา • วางโครงร่าง วัตถุประสงค์ • เขียนให้อ่านเข้าใจ ตามกลุ่มเป้าหมาย • ลองให้คนอื่นอ่านดู • อย่าเขียนแล้วหยุดเป็นช่วงๆ หากบทยาวแบ่งออกเป็นบทย่อย • ลำดับในแต่ละบทเป็นไปในแนวเดียวกัน • ภาษาที่ใช้ อิงตามราชบัณฑิตยสถาน หรือเป็นศัพท์ที่ใช้กันแพร่หลายเข้าใจและยอมรับกันโดยทั่วไป ไม่กำกวม • การทับศัพท์ ใช้เมื่อจำเป็น

  40. เนื้อหา • แนวทางการเรียบเรียง • แบ่งเป็นตอน • รวมเป็นบท • สาระสำคัญ(Key points) • หัวข้อ (Heading), หัวข้อย่อย(Sub-heading) ทองดี ชัยพานิช 2548

  41. เนื้อหา • ถูกต้อง • ทันสมัย • สมเหตุสมผล • ไม่ขัดแย้งกันเอง

  42. การแบ่งหัวข้อย่อย • ใช้หมายเลข เช่น 1,2 1.1 1.2 1.2.1 • ใช้หัวข้อย่อยเป็นอักษรช่วยหากหัวข้อมากเกินไป เช่น ก.,ข. หรือใช้ bullet

  43. รูปแบบหน้ากระดาษ • หากหนังสือเล่มขนาดมาตรฐาน ควรใช้แบบคอลัมน์ จะน่าอ่าน และวางรูปได้ง่าย • หากหนังสือเล่มเล็ก การทำคอลัมน์จะดูไม่น่าอ่าน • เลือก fontที่อ่านง่าย อย่ามีลวดลาย • มีพื้นที่สีขาวไว้พักสายตา

  44. ใช้รูปภาพ ตาราง กราฟิก ช่วย • สามารถทดแทนเนื้อหาได้ • อย่าลอกคนอื่น • ตารางอย่าให้มีเส้นขวาง • กราฟเลือกให้เหมาะสม • คำย่อ, เครื่องหมาย ต้องอธิบาย

  45. ใช้รูปภาพ ตาราง กราฟิก ช่วย • อย่าลอกคนอื่น • อย่าเอาภาพเล็กมาขยาย • ภาพถ่าย บอกเทคนิคการถ่าย กำลังขยาย • ภาพถ่ายอัดกระดาษ, slide, electronic images, ภาพวาด • ไม่ดัดแปลงหรือแก้ไขโดยตรงในรูปต้นแบบ • ฉลาก หรือคำอธิบายทำในสำเนารูป • ใช้ professional drawing

  46. เอกสารอ้างอิง • อ้างอิงตามแบบสากล Vancouver style • Classical papers • Recent papers • Established texts • Thai author's work • Your own work

More Related