1 / 12

Water relation : Soil-Plant-Atmosphere continuum

Water relation : Soil-Plant-Atmosphere continuum. ความสัมพันธ์ของน้ำใน ดิน - พืช - บรรยากาศ. Atmospheric water. Transpiration : stomata opening, RH หรื อ VPD ของบรรยากาศ. Water in Plant. TRANSLOCATION. Absorption : root penitration, moisture tension ของดิน. Soil water.

vevina
Download Presentation

Water relation : Soil-Plant-Atmosphere continuum

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Water relation : Soil-Plant-Atmosphere continuum

  2. ความสัมพันธ์ของน้ำในดิน-พืช-บรรยากาศความสัมพันธ์ของน้ำในดิน-พืช-บรรยากาศ Atmospheric water Transpiration : stomata opening, RH หรื อ VPD ของบรรยากาศ Water in Plant TRANSLOCATION Absorption: root penitration, moisture tension ของดิน Soil water

  3. Soil water น้ำในดิน • นิยมอธิบายด้วยแรงดึงหรือแรงดันของโมเลกุลน้ำกับอนุภาคดิน ในรูปของระดับพลังงาน ที่เรียกว่าศักย์ของน้ำเป็นเกณฑ์ในการวัด (moisture tension / water potential : ) • น้ำในดินที่เกี่ยวข้องกับการดูดซับได้ของรากพืชแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มคือ • free water / gravitational water : โมเลกุลของน้ำถูกดูดยึดน้อยกว่าแรงดึงดูดของโลก ในดินเหนียวมีค่ามากกว่า -0.03 MPa ในดินทรายมีค่าระหว่าง -(0.01-0.02) MPa น้ำส่วนนี้จะไหลออกไปจากชั้นดินอย่างอิสระ • available water : โมเลกุลน้ำที่ถูกดูดยึดไว้ด้วยแรงระหว่าง -0.03 ถึง - 0.15 MPa เป็นน้ำที่ถูกกักเก็บในชั้นดินและพืชสามารถดูดไปใช้ได้ • field capacity : คือระดับพลังงานสูงสุดที่รากพืชสามารถดึงเอาโมเลกุลน้ำออกจากชั้นดินได้ มีค่าเท่ากับ 0.03MPa • permanent wilting point : โมเลกุลของน้ำถูกดูดยึดด้วยแรงมากกว่า - 0.15 MPa ซึ่งรากพืชไม่สามารถดึงเอาน้ำส่วนนี้มาใช้ได้ พืชจะแสดงอาการเหี่ยวเฉา

  4. น้ำในชั้นดิน • โมเลกุลของน้ำถูกดูดยึดติดเม็ดดินเรียกว่า hygroscopic water นั้นรากพืชไม่สามารถดึงดูดมาใช้ได้ ส่วนน้ำที่อยู่ในช่องว่างขนาดเล็กของเนื้อดิน เรียกว่า capillary water จะเคลื่อนจากที่ซึ่งมีศักย์สูงกว่าไปยังที่ซึ่งมีศักย์ต่ำกว่า (siol moisture tension) และสามารถถูกรากพืชดูดซับได้ • การเก็บกักของน้ำในชั้นดิน (Soil water retention) ขึ้นอยู่กับเนื้อดิน (soil texture) ช่องว่างในดิน (soil pore) และปริมาณอินทรีย์วัตถุ (organic matter) • ศักย์ของน้ำมีหน่วยเป็น bar = 0.1 J/g. = 0.987 atm. = 0.01 MPa

  5. วิธีการวัดน้ำในดิน • Gravitational method โดยการน้ำตัวอย่างดินไปอบที่อุณหภูมิ 105-110 องศา ซ จนดินแห้ง แล้วคำนวนเปอร์เซนต์ความชื้นในดินจากสูตร • soil moisture percentage = (wet soil weight - dry soil weight) x 100 / dry soil weight • Tensiometric method โดยการวัดแรงดึงของน้ำในดินด้วยเครื่องมือ tensiometer เหมาะสำหรับการวัดน้ำที่ระดับความชื้นสนามถึงระดับ - 0.85 MPpa • Gypsum block เหมาะสำหรับการวัดที่ระดับ -0.05 ถึง 0.15 MPpa • Neutron probe Hydro probe โดยการปล่อยรังสีนิวตรอนออกจากหัวส่ง เมื่อรังสีไปกระทบกับโมเลกุลของน้ำจะสะท้อนกลับมาเป็นรังสีนิวตรอนช้า ซึ่งปริมาณการสะท้อนขึ้นอยู่กับระดับความชื้นและพลังงานของน้ำในดิน

  6. น้ำในพืช • น้ำบริสุทธิมีค่าศักย์เป็นศูนย์ แต่น้ำในเซลล์พืชจะเป็นสารละลายที่ประกอบด้วยน้ำ และ assimilate หรือ photosynthate ตลอดจนแร่ธาตุที่ละลายได้ จึงทำให้เซลล์พืชมีแรงดันหรือแรงดึงต่าง ๆ ส่งผลต่อพลังงานหรือศักย์ของน้ำในเซลล์พืชดังสมการ • Y = solute potential + pressure potential + matric potential • สภาพที่เซลล์หนึ่ง ๆ จุน้ำไว้ได้เต็มที่ของปริมาตรเซลล์นั้น เรียกว่า full turgor ดังนั้นในขณะหนึ่งสามารแสดงสถานะของน้ำในเซลล์พืชได้จากค่า Relative water content ซึ่งคำนวนจากสูตร RWC = (Fresh weight - Dry weight) / (Fully turgid weight - DW) X 100

  7. การวัดศักย์ของน้ำในพืชการวัดศักย์ของน้ำในพืช • ใช้เครื่อง Pressure chamber เพื่อวัด แรงดันหรือ Water potential ของเนื้อเยื่อนั้น ๆ • ใช้เครื่อง vapur pressure osmometer หรือ potentia meter เพื่อวัดแรงดันของสารละลายในเซลล์พืช เรียกว่า osmotic potential • ส่วน turgor pressure สามารถวัดด้วยเครื่อง pressure probe หรือคำนวนจากสมการ turgor pressure = water potential - osmotic potential

  8. น้ำในบรรยากาศ • ในบรรยากาศมีน้ำอยู่ในสถานะไอ และของเหลวที่อาจผกผันแล้วแต่อุณหภูมิ และความดันบรรยากาศ ดังนั้นการวัดความดันไอน้ำ และ vapour pressure deficit หรือวัดเป็นค่า Absolute humidity หรือ Realtive humidity • Transpiration = VPD - Leaf water potential • Flow of water in plant = Root water potential - Stem - Leaf • หรือแสดงเป็น volumeของน้ำต่อวินาที • Absorption = ST - Root water potential Atm. water Soil water Plat water(Root - Stem - Leaf) Absorption Transpiration

  9. ผลของการขาดน้ำต่อพืช Physiological response • stomaltal closure ลดการสังเคราะห์แสง • Leaf development ลดลง แก่เร็วขึ้น หรือ หลุดร่วงได้ง่าย • การสร้างและสะสมฮอร์โมน ABA, Ethylene , IAA, CK, GA Morphological response • ใบหนาขึ้น มีใบน้อย สัดส่วนยอดต่อรากลดลง • ใบขาดไนโตรเจน และคลอโรฟิลด์ • ใบและต้นเหี่ยว • ใบบิดม้วน

  10. การปรับตัวต่อสภาพขาดน้ำการปรับตัวต่อสภาพขาดน้ำ Drought escape : การหลบหนีจากสภาพแล้งด้วยกระบวนการ • rapid phenological development สุกแก่เร็วขึ้น หรือ • plasticity การยืดระยะเวลาการพัฒนาการออกไป Drought tolerance : การทนต่อสภาวะแห้งแล้งด้วยกระบวนการ • osmotic adjustment คือการสะสม solute ในเซลล์มากขึ้น เพื่อรักษาปริมาณน้ำในเซลล์ • การลการคายน้ำและการดูดน้ำเพิ่มขึ้นด้วย การมีขนหรือ wax ที่ผิวใบ การม้วนใบ การลดพื้นที่ใบ การมีระบบรากที่ลึก • การลดฮอร์โมน และการมีเอนไซม์บางตัวเช่น proline

  11. ประสิทธิภาพการใช้น้ำของพืชประสิทธิภาพการใช้น้ำของพืช • Water Use Efficiency ; WUE สามารถประเมินได้จาก • อัตราการสังเคราะห์แสง ต่ออัตราการคายน้ำ ของต้นหรือใบพืช • ปริมาณน้ำหนักแห้งที่พืชสร้าง ต่อปริมาณน้ำที่พืชใช้ในการคายระเหย • ผลผลิตของพืช / (ปริมาณน้ำที่ให้แก่พืช x HI) • การจะประเมินประสิทธิภาพการใช้น้ำของพืชโดยสมการใดก็แล้วแต่วัตถุประสงค์ของผู้ศึกษา

  12. สภาวะน้ำขัง (Water logging) • เมื่อเกิดสภาพน้ำท่วมขัง จะทำให้ดินขาดออกซิเจน จึงทำให้รากพืชและจุลินทรีย์ในดินไม่สามารถหายใจตามปกติได้ (aerobic respiration) จึงต้องมีการหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน หรือกลไกอื่นเพื่อการสร้างพลังงานแก่รากพืช พืชจะตอบสนองดังนี้ Physiological response • สร้าง ethylene • denitrification Morphological response • ส่วนยอดลดลง • การมีรากพิเศษ

More Related